Now showing items 1-4 of 4

    • การประเมินเชิงเปรียบเทียบชุดตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงจากตัวอย่างเลือด: QuantiFERON-TB Gold Plus และ QIAreach QuantiFERON-TB 

      วิพัฒน์ กล้ายุทธ; Wiphat Klayut; จณิศรา ฤดีอเนกสิน; Janisara Rudeeaneksin; โสภา ศรีสังข์งาม; Sopa Srisungngam; พายุ ภักดีนวน; Payu Bhakdeenuan; สุปราณี บุญชู; Supranee Bunchoo; จันทร์ฉาย คำแสน; Junchay Khamsaen; ปนัดดา อร่ามเรือง; Panatda Aramrueang; เบญจวรรณ เพชรสุขศิริ; Benjawan Phetsuksiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงและการจัดการที่เหมาะสม เป็นองค์ประกอบสำคัญในการลดจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝง ด้วยการตรวจสารอินเตอร์เฟอรอนแกมมาจากตัวอย่างเลือด มีข้อดีกว่าการทดสอบทางผิวหน ...
    • การพัฒนาศักยภาพการป้องกันการเกิดเป็นวัณโรคในผู้ป่วยเอชไอวีที่มีการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงด้วยยาสูตรใหม่ ยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินวันละ 1 ครั้ง (4 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับยาไอโซไนอะซิด/ไรฟาเพนตินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง (12 สัปดาห์) (ปีที่ 1) 

      อัญชลี อวิหิงสานนท์; Anchalee Avihingsanon; ประพันธ์ ภานุภาค; Praphan Phanuphak; กำพล สุวรรณพิมลกุล; Gompol Suwanpimolkul; กมล แก้วกิติณรงค์; Kamon Kawkitinarong; ศิวะพร เกตุจุมพล; Sivaporn Gatechompol; ฮาน, วิน มิน; Han, Win Min; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; ศรายุทธ อุตตมางคพงศ์; Sarayuth Uttamangkapong; จิรายุ วิสูตรานุกูล; Jirayu Visuthranukul; ศรีเพชรรัตน์ เมฆวิวัฒนาวงศ์; Sripetcharat Mekviwattanawong; สุพรรณี จิรจริยาเวช; Supunnee Jirajariyavej; ประณิธิ ด่านพรประเสริฐ; Praniti Danpornprasert; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; วิรัช กลิ่นบัวแย้ม; Virat Klinbuayaem; พลากร พนารัตน์; Palakorn Panarat; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; Pornpit Treebupachatsakul; ศิริชัย วิวัฒน์โรจนกุล; Sirichai Wiwatrojanagul; พฤฒิพงศ์ หนูเพชร; Preudtipong Noopetch; เพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์; Ploenchan Chetchotisakd; ณัชชา แซ่เตียว; Natcha Saetiew; ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; Thitisant Palakawong Na Ayuthaya; เครือทิพย์ จันทรธานีวัฒน์; Kruatip Jantharathaneewat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03-29)
      วัณโรคยังคงเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดการเสียชีวิตในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งการติดเชื้อเอชไอวีจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นวัณโรคมากขึ้น (100 เท่า) แม้ว่าการรักษาวัณโรคแฝงสามารถป้องกันการเป็นวัณโรคได้ประมาณ 60-90% แต่สูตรการร ...
    • การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1) 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaykhetkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yupet; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satpretpry; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ...
    • วัณโรคในเด็กนักเรียน 

      ปิยรัชต์ สันตะรัตติวงศ์; Piyarat Suntarattiwong; เกศสิรี กรสิทธิกุล; Katesiree Kornsitthikul; ประอร สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา; Pra-on Supradish; พักต์เพ็ญ ศิริคุตต์; Pugpen Sirikutt; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      บทนำ ประเทศไทยมีการประมาณการอุบัติการณ์ของโรควัณโรคในประชากรสูงติดอันดับ 1 ใน 30 ของโลก มีรายงานผู้ป่วยวัณโรคปอดในเด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาและวัยรุ่น ซึ่งเมื่อมีการรวมตัวกันมีความเสี่ยงที่วัณโรคจะแพร่กระจาย ภาวะติดเชื้อ ...