Browsing สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) by Subject "Quality of Health Care"
Now showing items 1-12 of 12
-
การกำหนดต้นทุนและการจัดสรรในบริบทของวิธีการเหมาจ่ายบริการสุขภาพ
(สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุและประเมินวิธีการกำหนดต้นทุนบริการสุขภาพแบบเหมาจ่าย วิธีการจัดสรรงบประมาณ และการกำหนดตัวแปรที่มีผลต่อต้นทุนและการจัดสรรงบประมาณของต่างประเทศและของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ... -
การทดลองใช้และประเมินผลตัวชี้วัดสำหรับงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ตัวชี้วัดจัดเป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาและการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นระดับจุลภาคหรือในระดับมหภาค ซึ่งระบบสารสนเทศตัวชี้วัดดังกล่าวต้องมีความเป็ ... -
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับระบบและกลไกการเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2549-03)แนวคิดเรื่องความเห็นที่สองเป็นแนวคิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพซึ่งทําให้การรักษาพยาบาลมีคุณภาพและน่าเชื่อถือมากขึ้นโดยเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้รับบริการยิ่งไปกว่านั้นการนําแนวคิดเรื่องนี้มาประยุกต์ใช้อย่างทั่วถึงในประเทศไทยนั ... -
การประเมินผลการพัฒนาระบบบริการยาต้านไวรัสเอดส์แก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ในประเทศไทย
(คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ ได้แก่ 1) ทบทวนกระบวนการนโยบาย และการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขในการขยายบริการยาต้านไวรัสเอดส์แก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวี 2) ประเมินคุณภาพของระบบบริการยาต้านไวรัสเอดส์ในโรงพยาบาล 3) ... -
การประเมินผลคุณภาพการดูแลและผลลัพธ์ของผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพการดูแลรวมทั้งผลลัพธ์ในผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ โดยทำการวิจจัยเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาภาระโรคตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการดูแ ... -
การพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมในโรงพยาบาลชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมโรงพยาบาลชุมชนด้วยการนำแบบจำลอง Data envelopment analysis มาประยุกต์ใช้ ผลการศึกษานำมาซึ่งตัวแปรที่สำคัญของปัจจัยนำเข้า คือ จำนวน full time ... -
การสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับประชาชน
(ม.ป.พ., ม.ป.ป.)การสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับประชาชนการศึกษาครั้งนี้เป็นการสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารสุขภาพทั้งใน และต่างประเทศ ผลการศึกษาพบข้อสรุป ดังนี้คือ 1.การบริการข้อมูล(supply) ในต่างประเทศมีหลายช่องทาง ... -
คำถามการวิจัยและปัญหาที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพของบริการสุขภาพในประเทศไทย : ระยะที่ 1
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)โครงการวิจัยนี้ประกอบด้วยการศึกษา 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นการทบทวนประสบการณ์การทำวิจัยด้านคุณภาพของบริการสุขภาพ และการทำข้อเสนอกรอบคำถามของการวิจัยเบื้องต้น และระยะที่ 2 ซึ่งจะการสำรวจสถานการณ์และข้อคำถามของผู้ ... -
คุณภาพในระบบสุขภาพตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : บทบาทของการวิจัยระบบและนโยบายสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาระบบสุขภาพตั้งแต่บริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพ เป็นที่ไว้วางใจจากประชาชน ไม่ใช่ระบบสุขภาพต้นทุนต่ำ ต้องมีกำลังคนเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ข้อเสนอแนะเชิงระบบของการทำให้ระบบสุขภาพมีคุณภาพม ... -
ที่แห่งนี้รักษาด้วยความสุข
(สารคดี, 2551) -
วิจัยและพัฒนาแผนแม่บทและเครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 3 ส่วนที่ 1 ผลประเมินคุณภาพบริการ การตอบสนองของหน่วยบริการ และการสังเคราะห์สารสนเทศตามเครื่องชี้วัดคุณภาพที่ได้จากการนำชุดเครื่องชี้วัดที่เสนอไว้ไปทดลองใช้ประเมินคุณภาพบริการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)โครงการวิจัยและพัฒนาแผนแม่บทและเครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข มีการดําเนินงานแบ่งได้ทั้งหมด ... -
วิจัยและพัฒนาแผนแม่บทและเครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่วนที่ 2 ชุดเครื่องชี้วัดสำหรับการกำกับติดตามประเมินคุณภาพบริการสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)เครื่องชี้วัดคุณภาพของบริการสาธารณสุขภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าชุดนี้ ครอบคลุมการดําเนินงานใน 6 มิติ ตามมุมมองของคุณภาพที่เสนอไว้ในร่างยุทธศาสตร์และแผนแม่บทในการติดตามกํากับและประเมินคุณภาพบริการสาธารณสุขภายใต้ระ ...