แสดงรายการ 1101-1120 จาก 5446

    • การค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีความจำเพาะสูงในการออกฤทธิ์ยับยั้งการติดเชื้อวัณโรคที่มีการดื้อยา 

      พรพรรณ พึ่งโพธิ์; Pornpan Pungpo; สุภา หารหนองบัว; Supa Hannongbua; อรดี พันธ์กว้าง; Auradee Punkvang; พฤทธิ์ คำศรี; Pharit Kamsri; ประสาท กิตตะคุปต์; Prasat Kittakoop; พจนีย์ ศรีมาโนชญ์; Potjanee Srimanote; ชมภูนุช ส่งสิริฤทธิกุล; Chomphunuch Songsiriritthigul; คมสันต์ สุทธิสินทอง; Khomson Suttisintong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      วัณโรคเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการออกแบบและค้นหาสารต้านวัณโรคตัวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งวัณโรคดื้อยากลุ่มฟลูออโรควิโนโลน โดยใช้ระเบียบวิธีการจำลองแบบแล ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อพัฒนารูปแบบการบริการปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์; Chanuantong Tanasugarn; พิพัฒน์ ลักษมีจรัลกุล; Pipat Luksamijarulkul; ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ; Chardsumon Prutipinyo; จีรนันท์ แกล้วกล้า; Jeeranun Klaewkla; ทัศนีย์ รวิวรกุล; Tassanee Rawiworrakul; จงกล โพธิ์แดง; Jongkol Podang; วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัย; Vanvisa Sresumatchai; มลินี สมภพเจริญ; Malinee Sombhopcharoen; มงคล อักโข; Mongkol Akko (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อพัฒนารูปแบบการบริการปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร ใน 4 ศูนย์บริการสุขภาพนำร่อง คือ ศูนย์บริการสาธารณสุข 29 ศูนย์บริการสาธารณสุข 30 ศูนย์บริการสาธารณสุข 60 และศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ...
    • ช่องว่างในการเข้าถึงบริการจิตเวชและภาระทางเศรษฐศาสตร์ ปีที่ 2 

      ตะวันชัย จิรประมุขพิทักษ์; Tawanchai Jirapramukpitak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และสังคมจากการป่วยทางจิตเวชเรื้อรังระหว่างผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ และรักษาล่าช้า ระหว่างผู้ที่ป่วยตั้งแต่อายุน้อยและอายุมากและระหว่างผู้ที่ป่วยมานานและไม่นาน ...
    • แนวทางปฏิบัติที่ดีในผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกไต ปีที่ 2 

      กิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม; Kittipan Rerkasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      จากแนวทางการปฏิบัติแนะนำ (guideline) ทั้งในประเทศและต่างประเทศจำนวนมากมาย แนะนำว่าผู้ป่วยที่มีไตวายระยะสุดท้าย การทำเส้นฟอกไตควรทำก่อนที่จะมีการแทงสายชั่วคราวในหลอดเลือดดำใหญ่ แต่ในประเทศไทยนั้นความเป็นจริงผู้ป่วยส่วนมาก ...
    • กระบวนการดูแลสุขภาพจิตตามวิถีอิสลามของผู้ป่วยระยะสุดท้าย : ผู้ป่วยชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      ฮามีดะห์ฮาสัน โต๊ะมะ; Hamidahhasan Tohma; อาหมัด อัลฟารีตีย์; Armad al-fariti; หนุ๊ มาสาระกามา; Nuh Masarakama; อับดุลรอหฺมาน มะโซะ; Abdunroman Masoh; Laongdau Shawo; รูไวดา ราแดง; Ruwaida Radeang; พรรณวดี อาแวนิ; Phannawadi Awaeni; ละอองดาว แซ่วื่อ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      จากการศึกษาเรื่อง “กระบวนการดูแลสุขภาพจิตตามวิถีอิสลามของผู้ป่วยระยะสุดท้าย : ผู้ป่วยชาวไทยมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วยข้อมูลจากเอกสาร โดยทำการศึกษาจากอัลกุรอาน ...
    • ตัวแทนแพทย์ทางไกลอัจฉริยะแบบพกพาเพื่อสนับสนุนการตรวจวัดและให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 

      ปราโมทย์ สิทธิจักร; Pramote Sittijuk; วิไรวรรณ แสนชะนะ; Wiraiwan Sanchana; กันยารัตน์ มาเกตุ; Kanyarat Market; ธีระพงษ์ ธนเดโชพล; Teerapong Thanadechopon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-02)
      การวิจัยเรื่องตัวแทนแพทย์ทางไกลอัจฉริยะแบบพกพาเพื่อสนับสนุนการตรวจวัดและให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบฐานความรู้ ฐานกฎอนุมานความรู้และเงื่อนไขที่จำเป็นต่อ ...
    • ทะเบียนประสาทหูเทียมในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      พรเทพ เกษมศิริ; สุรเดช จารุจินดา; วิราภรณ์ อัจฉริยะเสถียร; ขวัญชนก ยิ้มแต้; สายสุรีย์ นิวาตวงศ์; จรินรัตน์ ศิริรัตนพันธ์; สมชาย ศรีร่มโพธิ์ทอง; จิตรสุดา วัชรสินธุ์; สมุทร จงวิศาล; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; มานัส โพธาภรณ์; สุวัจนา อธิภาส; ภาธร ภิรมย์ไชย; ดาวิน เยาวพลกุล; กัญญ์ทอง ทองใหญ่; เสาวรส ภทรภักดิ์; นภัสถ์ ธนะมัย; ศรัญ ประกายรุ้งทอง; เพิ่มทรัพย์ อิสีประดิฐ; วิชิต ชีวเรืองโรจน์; ศิริพร ลิมป์วิริยะกุล; ภาณินี จารุศรีพันธุ์; กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ; กนกรัตน์ สุวรรณสิทธิ์; จารึก หาญประเสริฐพงษ์; ศิวะพร เกียรติธนะบำรุง; ตุลกานต์ มักคุ้น; สุวิชา แก้วศิริ; ทศพร อัจฉราเจริญยิ่ง; ศณัฐธร เชาวน์ศิลป์; วันดี ไข่มุกด์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยพัฒนาระบบทะเบียนการให้บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประเทศไทย ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะในเวลา 5 ปี ประกอบด้วย ระยะที่ 1 เป็นการสร้างความร่วมมือกำหนดแนวทางมาตรฐานการให้บริการ ...
    • การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยนอกโรคหัวใจล้มเหลวโดยสหสาขาวิชาชีพ 

      อุษาศิริ ศรีสกุล; Usasiri Srisakul; วราวุธ อัมพรวิโรจน์กิจ; Warawut Umpornwirojkit; สุภาพร พัฒนสาร; Supapron Pattanasan; อภิโชติ โซ่เงิน; Apichot So-ngern; เฉลิมศรี ภุมมางกูร; Charlermsri Pummangura; ภาณุพงศ์ รักษาวงศ์; Panupong Rucksawong; กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล; Kamolwan Tuntiphiwantanakul; พิธาน โฆษิตชัยวัฒน์; Pithan Kositchaivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      ภาวะหัวใจล้มเหลว เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขทั่วโลก การดูแลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพส่งผลเพิ่มอัตราการได้รับยาตามมาตรฐาน ลดความเสี่ยงต่อการนอนโรงพยาบาลจากภาวะหัวใจล้มเหลวและการเสียชีวิตจากทุกสาเหตุและเพิ่มคะแนนคุณภาพชีวิตดีแก่ผู้ป่วย ...
    • การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย 

      วินิต อัศวกิจวิรี; Vinit Usavakidviree; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; ฟ้าใส จันท์จารุภรณ์; Farsai Chanjaruporn; วราวุธ เสริมสินสิริ; Varavoot Sermsinsiri; คัคนางค์ โตสงวน; Kakanang Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)
      ประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป ...
    • แนวทางการพัฒนาการเรียนรู้และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในพื้นที่ชนบทภาคกลางของประเทศไทย 

      วิสาขา ภู่จินดา; Wisakha Phoochinda; ศิริวิมล สายเวช; Sirivimon Saywech; วลัลนา วัฒนาเหมกร; Walanna Wattanahemmakorn; สิริสุดา หนูทิมทอง; Sirisuda Nootimthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้านการจัดการขยะชุมชนของผู้สูงอายุ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะชุมชน เสนอแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุในพื้นที่ชน ...
    • สมรรถนะและบทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว: การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบาย 

      ธีระ วรธนารัตน์; Teera Woratanarat; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จารุภา เลขทิพย์; Charupa Lektip; เสาวลักษณ์ ต้องตา; Saowalak Tongta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อใช้ในการวางแผนผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและเพื่อวางแผนขับเคลื่อนนโยบายทีมหมอครอบครัวให้มีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและสถานการณ์ในพื้นที่ ...
    • บทเรียนการปฏิรูปโรงพยาบาลภาครัฐประเทศสิงคโปร์ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak; อรอร ภู่เจริญ; Ora-Orn Poocharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-05-03)
      ตามที่แผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข มีข้อเสนอให้มีการปรับบทบาทของกระทรวงสาธารณสุขในอนาคต โดยบทบาทของกระทรวงสาธารณสุขที่จะเป็นหน่วยงานนโยบายและหน่วยกำกับ ซึ่งแยกจากหน่วยบริการในระบบให้เป็นอิสระทั้งในรูปหน่วยบริการเดี่ยว ...
    • การประเมินผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกเพื่อป้องกันฟันผุในเด็กเล็ก 

      รวี เถียรไพศาล; Rawee Teanpaisan; สุพัชรินทร์ พิวัฒน์; Supatcharin Piwat; นันทิยา พาหุมันโต; Nuntiya Pahumunto; อรนิดา วัฒนรัตน์; Onnida Wattanarat; ชนิกา แมนมนตรี; Chanika Manmontri; อารีรัตน์ นิรันต์สิทธิรัชต์; Areerat Nirunsittirat; สุทธิชัย กฤษณะประกรกิจ; Suttichai Krisanaprakornkit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-11)
      ในการศึกษาทางคลินิกที่ผ่านมาพบว่าโพรไบโอติก Lactobacillus paracasei SD1 มีความปลอดภัย สามารถลดเชื้อก่อโรคฟันผุและความลดฟันผุได้โดยการได้รับนมผงผสม L. paracasei SD1 ทุกวัน ในการศึกษานี้เป็นการศึกษาต่อเนื่อง มีวัตถุประสงค์ ...
    • การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังซึ่งได้รับการฟอกเลือดด้วยวิธีออนไลน์ฮีโมไดอะฟิลเตรชั่นและฮีโมไดอะไลซิส (ปีที่ 1) 

      อังสนา ภู่เผือกรัตน์; Angsana Phuphuakrat (2562-01)
      ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายมีรายงานพบว่าการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ ซึ่งส่งผลให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอุบัติการณ์การติดเชื้อสูงกว่ากลุ่มประชากรทั่วไป ปัจจุบันการฟอกเลือด นอกจากใช้วิธีฮีโมไดอะไลซิส (hemodialysis, HD) ...
    • การติดตามผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคหัวใจโรคหลอดเลือดหรือการเสื่อมของการทำงานของไตแบบสหสถาบัน (ส.ห.ส.) ระยะ 2 (เพื่อศึกษาภาวะแทรกซ้อนระยะยาวและความคุ้มทุนของการรักษา) (ปีที่ 1) 

      ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      โรคไตเรื้อรัง (CKD) มีผลต่อคุณภาพชีวิต มีค่าใช้จ่ายสูง เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ ภาวะไตเสื่อม และภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ปัจจัยเสี่ยงมีทั้งปัจจัย traditional เช่น ความดันโลหิตสูง และ non-traditional เช่น ซีด ความแข็งของเส้นเลือด ...
    • การเรียนรู้ อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐ กับพลวัตชุมชน ปีที่ 2 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; Kaewta Sungkhachart; สิทธิโชค ชาวไร่เงิน; Sittichoke Chawraingern; สุจิตรา ปัญญา; Sujittra Panya; ประชาธิป กะทา; Prachatip Kata; ธนวรรณ สาระรัมย์; Thanawan Sararum; บุษบงก์ วิเศษพลชัย; Bussabong Wisetpholchai; แก้วตา สังขชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)
      โครงการเรียนรู้อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐ กับพลวัตชุมชน (ปีที่2) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์และปฏิกิริยาของชุมชนที่มีต่อภัยพิบัติ ทั้งก่อน ระหว่างและหลังการเกิดภัยพิบัติในบริบทนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นที ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 ประกอบด้วย จดหมายถึงบรรณาธิการ เรื่อง ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี และกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา และการใช้กัญช ...
    • ประเภทของบาดแผลและรูปแบบการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยอุบัติเหตุของโรงพยาบาลมหาสารคาม 

      ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์; Chutimaporn Chaiyasong; พิริยา ติยาภักดิ์; Piriya Tiyapak; อนันตเดช วงศรียา; Anantadet Wongsriya; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ในปี 2559 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ “การใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ” เป็นตัวชี้วัดหนึ่งของ Service Plan สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยมีเป้าหมายคือ อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะไม่เกินร้อยละ 40 ซึ่งอ้างอิงตัวเลขมาจากงานวิ ...
      ป้ายกำกับ:
      ยอดนิยม
    • สถานการณ์ ปัจจัยส่วนบุคคลและครัวเรือนที่มีความสัมพันธ์กับความพิการของเด็ก 

      รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; Saudamini Vishwanath Dabak; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      คนพิการส่วนใหญ่มีความยากลำบากในการดำเนินชีวิต โดยเฉพาะเด็กซึ่งมักจะต้องเผชิญกับการเลือกปฏิบัติและการจำกัดการเข้าถึงบริการทางสังคม แม้จะพบว่าความพิการในเด็กจะมีผลกระทบต่อพัฒนาการ ต่อครอบครัวและต่อเศรษฐกิจ แต่ข้อมูลที่สำคั ...
    • ความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 

      วีรชาติ ศรีจันทร์; Weerachat Srichan; พัชรี มั่นคง; Phatchari Mankong; ชาลีลักษม์ ทองประเสริฐ; Chaleelak Thongprasert; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; Tippawan Pongcharoen; อมรพันธ์ อัจจิมาพร; Amornpan Ajjimaporn; สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์; Sueppong Gowachirapant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร (physical activity questionnaire for pregnant and lactating women, PAQ-PL) โดยพัฒนาแบบสอบถ ...