แสดงรายการ 1141-1160 จาก 5446

    • Thailand Migrant Health Policy 

      Supakit Sirilak; ศุภกิจ ศิริลักษณ์ (Health Systems Research Institute, 2019-01-29)
      National Stakeholder Consultation on Migration Health. 29 January 2019. The Sukosol Hotel, Kamolthip2 Ballroom, Bangkok, Thailand
    • การวิเคราะห์ต้นทุน ประสิทธิผลของระบบการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยจิตเวชกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการระดับปฐมภูมิ เปรียบเทียบกับระบบบริการปกติ 

      จุฑามณี ดุษฎีประเสริฐ; Jutamanee Dudsadeeprasert; ขนิษฐา สุนาคราช; Kanitha Sunakarach; ปราณีต ชุ่มพุทรา; Praneat Chumputra; ญาดา ธงธรรมรัตน์; Yada Thongthamarat; จำเนียร สุรวรางกูร; Jamnian Suravarangkul; ขนิษฐา ชุ่มสุข; Khanista Chumsuk; สุกัญญา ป้อมทะเล; Sukunya Pomthale; ภาคภูมิ คนรู้; Phakphum Konru (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง เพื่อลดการกำเริบและความเสี่ยงต่อการก่อความรุนแรงและส่งผลให้ต้องถูกรับไว้รักษาตัวในโรงพยาบาล โครงการบริการผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนจ ...
    • แผนงานเพื่อศึกษาอุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกา และพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับประเทศไทย 

      สมบัติ แทนประเสริฐสุข; Sombat Thanprasertsuk; จุไร วงศ์สวัสดิ์; Jurai Wongsawat; วิศัลย์ มูลศาสตร์; Visal Moolasart; ปฐมา สุทธา; Patama Suttha; นุชชรินทร์ ไวว่อง; Nuchcharin Wiwong; สมถวิล อัมพรอารีกุล; Somtavil Ampornareeku; พุทธิพร ลิมปนดุษฎี; Putthiporn Limpanadusadee; ณิชาภา ยนจอหอ; Nichapa Yonchoho; สุมนมาลย์ อุทยมกุล; Sumonmal Utayamakul; สมคิด ศรีโสภา; Somkid Srisopha; สุมาลี ชะนะมา; Sumalee Chanama (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      กรมควบคุมโรคในฐานะเป็นหน่วยงานหลักที่กำกับดูแลระบบการป้องกันและควบคุมโรคของประเทศ จำเป็นต้องใช้ข้อมูลทางวิชาการโดยอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อแก้ไขปัญหาจากโรคและภัยสุขภาพในประเทศไทย โดยเร่งทำการศึกษาวิจัยในประเด็นเร่งด่วน ...
    • กระบวนการบริหารจัดการเพื่อการดูแลผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองในระยะยาวของผู้ดูแล ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดยะลา 

      จิตตินันท์ พงสุวรรณ; Chittinan Pongsuwan; พิชญ์ชญานิษฐ์ เรืองเริงกุลฤทธิ์; Pichayanit Ruangroengkulrit; กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์; Karnsunaphat Balthip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)
      การวิจัยแบบวิธีวิทยาการสร้างทฤษฎีฐานรากแบบสเตราส์ (Straussian grounded theory approach) นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการเพื่อการดูแลผู้รอดชีวิตจากโรคหลอดเลือดในระยะยาวของผู้ดูแล จากกลุ่มตัวอย่างที่มีประส ...
    • การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2 

      ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์; Prapimpun Wongchitrat; อมรา อภิลักษณ์; Amara Apilux; ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์; Tanawut Tantimongcolwat; กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น; Kamonrat Phopin; วิลาสินี สุวรรณจ่าง; Wilasinee Suwanjang; สุมนา กลัดสมบูรณ์; Sumana Kladsomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)
      เนื่องจากประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมรวมถึงโรคอัลไซเมอร์ การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วมีความสำคัญในการป้องกันและรักษาสุขภาพของประชาชน ดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒ ...
    • หลักสูตรและประมวลรายวิชา การสื่อสารเพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; พาหุรัตน์ คงเมือง ทัยสุวรรณ์; Phahurat Kongmuang Thaisuwan; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; สุรสิทธิ์ บุพชาติ; Surasit Bupachat; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศของโลกที่มีปัญหาเกี่ยวกับวัณโรค (Tuberculosis) ร่วมกันทั้งสามด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา (MDR-TB) สูง ซึ่งในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ...
    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ศึกษาวิจัยนโยบายและระบบสุขภาพจากนายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      นายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข พัฒนาตนเองเป็นนักวิชาการด้านนโยบายและระบบสุขภาพ มีพื้นฐานตั้งแต่ตอนเป็นนักศึกษาแพทย์จนทำงานที่นับว่าได้คลุกอยู่กับการพัฒนาระบบสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะยุคพัฒนาความครอบคลุมของโครงสร้างระ ...
    • ยาปฏิชีวนะ: จากดินสู่ดิน 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-12)
      การค้นพบเพนนิซิลลินของ Sir Alexander Fleming ที่โรงพยาบาลเซ็นต์แมรี่ กรุงลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1928 เป็นการเปิดศักราชใหม่ของยาปฏิชีวนะที่ช่วยชีวิตผู้คนจำนวนมากจากโรคติดเชื้อ Streptococcus, Staphylococcus, ไข้กาฬหลังแอ่น คอตีบ ...
    • เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      เนื้อหาในขอบเขตของเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพนั้นเข้มข้นขึ้นในระยะสิบปีมานี้ มีทั้งส่วนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจที่นำไปสู่ความสุขและสุขภาพ จากแนวคิดเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมเชื่อว่า มนุษย์ไม่ได้ตัดสินใจอย่างรอบ ...
    • บริการสุขภาพจำเป็นแต่ไม่ได้รับการตอบสนองบ่งบอกนัยอะไร 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06)
      ความจำเป็นต่อบริการสุขภาพ (health care need) ที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (unmet) เริ่มปรากฏ เป็นตัวชี้วัดเปรียบเทียบระบบบริการสุขภาพระหว่างประเทศต่างๆ ในรายงานขององค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organisation for ...
    • การประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556 - 2560 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkathep; วิภา ด่านธำรงกูล; Vipa Danthamrongkul; อำนวย ภูภัทรพงศ์; Amnuay Phoophattarapong; ชัยรัชต์ จันทร์ตรี; Chairach Jantree; กุลพร สุขุมาลตระกูล; Kunlaporn Sukumaltakun; สุพิชชา วงค์จันทร์; Supitcha Wongchan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การประเมินผลการนำสู่การปฏิบัติของสามมาตรการเชิงนโยบายของการส่งเสริมสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน ในระหว่าง ปี 2556–2560 คือ มาตรการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มาตรการองค์กรไร้พุง และมาตรการคลินิก DPAC วัตถุประสงค์การศึกษา คือ ...
    • การประเมินนโยบายกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น เขตสุขภาพที่ 11 เพื่อสนับสนุนการดำเนินนโยบายในระยะถัดไป 

      อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว; Udomsak Saengow; ธารินทร์ เพ็ญวรรณ; Tharin Phenwan; ธนัย เกตวงกต; อภิญญา เลาหประภานนท์; Apinya Laohaprapanon; รัตติยา อักษรทอง; Ruttiya Asksonthong; Tanai Ketwongkot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      นโยบายทางด้านสุขภาพในประเทศไทย ได้ใช้แนวคิดในการกระจายอำนาจลงสู่ท้องถิ่นตามที่ระบุอยู่ใน พ.ร.บ. หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 และ พ.ร.บ. กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น พ.ศ.2542 โดยเน้นส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ...
    • คำถามวิจัยกำลังคนด้านสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-06)
      การบริบาล (care) เป็นวิถีแสดงความห่วงใยที่ใช้แรงงานจากความรัก (labor of love) มีมิติที่ซับซ้อนในด้านสังคมวิทยา เป็นงานประจำที่ต้องทำซ้ำๆ ทุกวัน ด้วยมุมมองทางจริยธรรม ขณะเดียวกันก็ยังคงมีความไม่เป็นธรรมดำรงอยู่ทั้งในระดับ ...
    • คุณภาพในระบบสุขภาพตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : บทบาทของการวิจัยระบบและนโยบายสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการพัฒนาระบบสุขภาพตั้งแต่บริการปฐมภูมิให้มีคุณภาพ เป็นที่ไว้วางใจจากประชาชน ไม่ใช่ระบบสุขภาพต้นทุนต่ำ ต้องมีกำลังคนเพิ่มขึ้นเกือบ 2 เท่า ข้อเสนอแนะเชิงระบบของการทำให้ระบบสุขภาพมีคุณภาพม ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2561 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2561 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง เศรษฐศาสตร์การเมืองของการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ และนิพนธ์ต้นฉบับ 11 บทความ คือ 1) กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอล ...
    • ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานตามหลักการจัดกลุ่มโรคผู้ป่วยนอกเพื่อการจ่ายเงินที่โรงพยาบาลบางบัวทอง 

      กิตติยา ชูโชติ; Kittiya Choochote; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยเบาหวานตามแนวคิดการจัดกลุ่มโรคเรื้อรังและวิเคราะห์ผลลัพธ์ทางคลินิกในการดูแลผู้ป่วย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบย้อนหลัง รวบรวมข้อมูลการรับบริการของผ ...
    • ประสิทธิผลของบริการการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาจังหวัดอุดรธานี 

      ยศ วัชระคุปต์; Yos Vajragupta; วรรณภา คุณากรวงศ์; Wannapha Kunakornvong; พสิษฐ์ พัจนา; Phasith Phatchana; สาวิณี สุริยันรัตกร; Savinee Suriyanratakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุส่งผลให้ประเทศไทยต้องเตรียมพร้อมในด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในด้านการดูแลด้านสุขภาพ เนื่องจากผู้สูงอายุจะมีสุขภาพที่ถดถอยลง สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้จัดสรรงบประมาณ ...
    • ทางเลือกการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของประเทศไทย 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; กนิษฐา มากมูล; Kanidta Makmool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิด สถานการณ์และวิธีการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของรัฐในประเด็นทางด้านการควบคุมยาสูบ การปกครองและข้อตกลงทางการค้าของประเทศต่างๆ (2) วิเคราะห์ฉากทัศน์ของบริบทด้านการปกครอง ...
    • ต้นทุนเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพ 8 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนภาพรวมของเครือข่ายระบบบริการปฐมภูมิโดยคัดเลือกพื้นที่อำเภอที่มีระบบบริการปฐมภูมิที่ดี มีการบริหารจัดการในลักษณะของเครือข่ายตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านระบบบริการปฐมภูมิ ...