แสดงรายการ 661-680 จาก 5437

    • การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรการกักตัวสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19 

      ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; นภดล พิมสาร; Nopphadol Pimsarn; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; แพรวา กุลัตถ์นาม; Praewa Kulatnam; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; วริษฐา แสวงดี; Waritta Sawaengdee; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ณัฐปราง นิตยสุทธิ์; Natthaprang Nittayasoot; วราภรณ์ เทียนทอง; Varaporn Thienthong; สุทัศน์ โชตนะพันธ์; Suthat Chottanapund; พิไลลักษณ์ อัคคไพบูลย์ โอกาดะ; Pilailuk Akkapaiboon Okada; จักรรัฐ พิทยาวงศ์อานนท์; Chakrarat Pittayawonganon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ความเป็นมา: บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขถือได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด-19 ในระหว่างปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคในวงกว้าง เมื่อบุคลากรทางการแพ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 

      ภูดิท เตชาติวัฒน์; Phudit Tejativaddhana; อรพินท์ เล่าซี้; Orapin Laosee; วิชช์ เกษมทรัพย์; Vijj Kasemsup; เกรียงศักดิ์ ธรรมอภิพล; Kriengsak Thamma-Aphiphol; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisal; ดุษณี ดำมี; Dusanee Dammee; กวินารัตน์ สุทธิสุคนธ์; Kawinarat Suthisukon; ศรินญา เพ็งสุก; Sarinya Phengsuk; จริยา ศรีกลัด; Jariya Sriklad (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ภูมิหลัง: อำเภอเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพตามแนวคิดพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care: PHC) ตามปฏิญญาอัลมา อะต้า ค.ศ. 1978 และปฏิญญาอัสตานา ...
    • การพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดสมอง 

      สุภาพร มัชฌิมะปุระ; Supaporn Muchimapura; จินตนาภรณ์ วัฒนธร; Jintanaporn Wattanathorn; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; เทอดไทย ทองอุ่น; Terdthai Tongun; ปณคพร วรรณานนท์; Panakaporn Wannanont; วิภาวี ทูคำมี; Wipawee Tukum-mee; กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap; นิศา วรสูต; Nisa Vorasoot; ธนากร ปัญญา; Thanakorn Panya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งด้านสาธารณสุขส่งผลกระทบอย่างมากต่อค่าใช้จ่ายสาธารณสุขรายปีและคุณภาพชีวิตของประชากรตลอดจนผลิตภาพของประเทศ อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพในการรักษาภาวะดังกล่าวยังคงจำกัดเนื่องจากผู้ป่วยจากโ ...
    • การพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับแพทย์และทีมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขต 7 ในรูปแบบเว็บแอพพลิเคชั่น 

      กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap; นิศา วรสูต; Nisa Vorasoot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทีมสุขภาพจะใช้ข้อมูลจากแนวเวชปฏิบัติของประเทศในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งแนวเวชปฏิบัติดั้งเดิมจะอยู่ในรูปแบบสิ่งพิมพ์หรือไฟล์ pdf ...
    • การติดตามการเปลี่ยนแปลงมิติสุขภาพของผู้สูงอายุไทยในช่วงก่อนระบาดของโรคโควิด-19 ช่วงระบาดและฐานวิถีชีวิตใหม่ 

      สุภาพ อารีเอื้อ; Suparb Aree-Ue; อินทิรา รูปสว่าง; Inthira Roopsawang; ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล; Teepatad Chintapanyakun; ยุวดี สารบูรณ์; Yuwadee Saraboon; ศิริรัตน์ อินทรเกษม; Sirirat Intharakasem; วิโรจน์ กวินวงศ์โกวิท; Viroj Kawinwonggowit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงมิติสุขภาพของผู้สูงอายุ ได้แก่ กิจกรรมทางกาย ภาวะเปราะบางทางกาย ภาวะเปราะบางทางสังคม ระยะการเคลื่อนที่ในชีวิตประจำวัน ภาวะซึมเศร้า และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอ ...
    • การประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2564 

      จรัส รัชกุล; Charuch Rachakul; ชาติชาย สุวรรณนิตย์; Chatchay Suvannit; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; จีรวรรณ หัสโรค์; Gerawan Haslo; โศภิสุดา วิบูลย์พันธุ์; Sophisuda Wiboonphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ภูมิหลังและเหตุผล การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ที่ระบาดมาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 และเริ่มระบาดระลอกที่สามในช่วงต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 ทำให้มีการออกนโยบายป้องกันเชิงสังคมและพฤติกรรม รวมทั้งการ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมค่าอรรถประโยชน์ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทย 

      กฤตภาส กังวานรัตนกุล; Krittaphas Kangwanrattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ค่าอรรถประโยชน์ (Utility value) เป็นผลลัพธ์ที่สำคัญในการวิเคราะห์ต้นทุน-อรรถประโยชน์ (Cost utility analysis: CUA) จากแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยได้มีการแนะนำให้ใช้แบบสอบถาม EQ-5D-5L ในการหาค่าอ ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดการของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิที่เหมาะสมต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 11 

      วรัญญา จิตรบรรทัด; Waranya Jitbantad; พิมพวรรณ เรืองพุทธ; Pimpawan Rueangphut; ดลปภัฎ ทรงเลิศ; Dolpaphat Songloed; จิฑาภรณ์ ยกอิ่น; Jithaphon Yok-in; วิเชียร ไทยเจริญ; Wichian Thaicharoen; สุรเชษฐ์ เชตุทอง; Surachet Chetthong; รุจ เรื่องพุทธ; Ruj Rueangphut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การจัดการปัญหาในสถานการณ์การการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ 2) วิเคราะห์ผลลัพธ์และผลกระทบของการจัดการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของระบบบริก ...
    • การพัฒนายาแอนติบอดีต้นแบบต่อ PD-1 เพื่อใช้ในการรักษาโรคมะเร็งแบบภูมิคุ้มกันบำบัด 

      ไตรรักษ์ พิสิษฐ์กุล; Trairak Pisitkun; ณัฏฐิยา หิรัญกาญจน์; Nattiya Hirankarn; ชาติกร บุญไกร; Chatikorn Boonkrai; ทศพล วงศ์ทางประเสริฐ; Tossapon Wongtangprasert; ธนปติ ผาคำ; Tanapati Phakham; ฑิตยา อุดมสรรพ์; Thittaya Audomsun; ชฎาพร อรรถกิจบัญชา; Chadaporn Attakitbancha; พิจิตรา แซ่เล้า; Pijitra Saelao (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตหลักในประเทศไทย ซึ่งวิธีการรักษาหลักของโรคมะเร็งนอกจากการผ่าตัด การใช้ยาเคมีบำบัด การฉายแสง และการใช้ฮอร์โมนแล้ว ยังมีการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการรักษา ...
    • การสำรวจสถานการณ์แรงงานข้ามชาติในเมืองใหญ่และการส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการพัฒนาระบบสุขภาพแรงงานข้ามชาติ 

      ศยามล เจริญรัตน์; Sayamol Charoenratana; ชลนภา อนุกูล; Cholnapa Anukul; จิตติพร ฉายแสงมงคล; Jittiporn Chaisaingmongkola; ศิววงศ์ สุขทวี; Siwawong Sooktawee; ธัญชนก วรากรพัฒนกุล; Thanchanok Varakornpattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การย้ายถิ่นเป็นปรากฏการณ์ระดับโลก ปัจจุบันประเทศไทยเป็นประเทศปลายทางที่มีประชากรแรงงานข้ามชาติมากที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน เมืองที่ดึงดูดแรงงานย้ายถิ่นจำนวนมากเป็นพื้นที่ของความท้าทายด้านสุขภาพ ในการรับมือจากโรคระบาดติด ...
    • การสำรวจค่าใช้จ่ายการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคในประเทศไทย 

      ผลิน กมลวัทน์; Phalin Karmolwat; ศรีประพา เนตรนิยม; Sriprapa Nateniyom; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; มนทรัตน์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; พิเชต วงรอต; Phichet Wongrot; บุญเชิด กลัดพ่วง; Booncherd Kladphuang; อรรถกร จันทร์มาทอง; Auttagorn Junmartong; อุบลรัตน์ วาจรัต; Ubonrat Wajarat; วัสนันท์ ขันธชัย; Wassanan Khanthachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยสำรวจภาคตัดขวาง (cross-sectional survey) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าใช้จ่ายที่ผู้ป่วยวัณโรคและครอบครัวต้องแบกรับ (Out-of-pocket expenditure) เพื่อประเมินอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะวิกฤตทา ...
    • ผลกระทบด้านสุขภาพจิตของประชาชนต่อสถานการณ์ การแพร่ระบาดเชื้อโคโรนาไวรัส (โควิด-19) เขตสุขภาพที่ 5 

      อัมพร เบญจพลพิทักษ์; Amporn Benjapolpitak; ธิติ แสวงธรรม; Thiti Sawangtham; ศรุตพันธุ์ จักรพันธุ์ ณ อยุธยา; Sarutphan Chakkraphan na Ayutthaya; รุจิรา เข็มเพ็ชร; Rujira Kemphet; รักษ์พงศ์ เวียงเจริญ; Rakpong Wiangcharoen; จิรภัทร กัลยาณพจน์พร; Jiraphat Kanlayanaphotporn; ณัฐพงศ์ กาญจนะโกมล; Nattapong Kanchanakomala; อัญญา ปลดเปลื้อง; Unya Plodpluang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาเรื่อง ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส (COVID-19) เขตสุขภาพที่ 5 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงลึกผลกระทบต่อสุขภาพจิตและปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 5 จากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ...
    • การประเมินเทคนิคทางอณูวิทยาเพื่อวินิจฉัยวัณโรค และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ปีที่ 2 

      วัชระ กสิณฤกษ์; Watchara Kasinrerk; อุษณีย์ อนุกูล; Usanee Anukool; พลรัตน์ พันธุ์แพ; Ponrut Phunpae; สรศักดิ์ อินทรสูต; Sorasak Intorasoot; ชญาดา สิทธิเดช ธารินเจริญ; Chayada Sitthidet Tharinjaroen; ขจรศักดิ์ ตระกูลพัว; Khajornsak Tragoolpua; บดินทร์ บุตรอินทร์; Bordin Butr-Indr; กัญญา ปรีชาศุทธิ์; Kanya Preechasuth; ประภาภรณ์ ศรีโลหะสิน; Prapaporn Srilohasin; เจียรนัย ขันติพงศ์; Jiaranai Khantipongse (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      วัณโรค (tuberculosis: TB) และวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (multidrug-resistant TB: MDR-TB) เป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทย ที่ผ่านมาพบว่าความครอบคลุมในการรักษา TB และ MDR-TB อยู่ในอัตราที่ต่ำโดยหนึ่งในสาเหตุสำคัญมาจาก ...
    • FAQ การบริหารโครงการวิจัย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • เรียนรู้เท่าทันการโจรกรรมทางวิชาการ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • ภาพรวมของข้อตกลงสนับสนุนวิจัย (สวรส.) 

      ณัฐิญา ศิลปอนันต์; Nattiya Sillapa-anan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • คู่มือบริหารจัดการงานวิจัย สวรส. (ฉบับปรับปรุง มกราคม 2565) 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • กรอบวิจัยประจำปี 2566 แผนงานวิจัยจีโนมิกส์ประเทศไทย 

      บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • แผนงานระบบเทคโนโลยีทางการแพทย์ แผนงานระบบข้อมูลสุขภาพ 

      จุไรรัตน์ พรหมใจ; Jurairat Phromjai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)
    • กรอบงานวิจัยระบบยา ปี 2566 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมก้าวสู่มิติใหม่กับการวิจัยพัฒนาระบบสุขภาพ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. (ในรูปแบบออนไลน์)