Now showing items 2201-2220 of 5448

    • การเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน; มนทกานต์ ฉิมมามี; ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ หนึ่ง ทบทวนนิยาม มโนทัศน์ และแนวคิดทางสังคม ที่อยู่เบื้องหลังข้อตกลงระหว่างประเทศและกฎหมายของต่างประเทศรวมถึงประเทศ ...
    • ภาพอนาคตระบบสุขภาพ 

      สุชาต อุดมโสภกิจ; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      ในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่ระบบสุขภาพยุคใหม่ เป็นความท้าทายต่อองคาพยพในระบบสุขภาพที่จะต้องปรับตัวให้ทันกับบริบทและสถานการณ์ที่ไม่เหมือนเดิม ประเทศไทยอยู่ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายอันส่งผลต่อการพัฒนาระบบสุ ...
    • วิจัยสุขภาพไทยสู่ประชาคมอาเซียน : วิกฤติหรือโอกาส 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิจัยทางการพยาบาลแห่งชาติ ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 2-4 ธันวาคม 2556 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนต์ กรุงเทพมหานคร
    • คู่มือการยื่นขอทุนวิจัยแบบที่เดียว 

      เครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับหน่วยงานให้ทุนหลักของประเทศ ได้แก่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร(สวก.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเ ...
    • การจัดบริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      เจริญ เกียรติวัชรชัย; Charoen Kaitwatcharachai; สมถวิล เกียรติวัชรชัย; Somthawil Kaitwatcharachai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โรคไตเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนมากและค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง บทบาทของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) คือ ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและข้อจำ ...
    • Door-to-needle time สำหรับการให้ยาละลายลิ่มเลือดในโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 

      กฤษฎา ศิริชัยสิทธิ์; Kridsada Sirichaisit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การวิจัยย้อนหลังเชิงพรรณนานี้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระยะเวลาที่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาลจนได้รับยาละลายลิ่มเลือด (door-to-needle time) ในการให้ยาละลายลิ่มเลือดแก่ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันในโรงพยาบาลบึงกาฬ ...
    • ปัญหาและอุปสรรคของเครือข่ายการรักษาผู้ป่วยเด็กโรคเนื้องอกสมองและไขสันหลังในประเทศไทย 

      อาภาศรี ลุสวัสดิ์; Apasri Lusawat; สมใจ กาญจนาพงศ์กุล; Somjai Kanjanapongkul; สุรเดช หงส์อิง; Suradej Hongeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การศึกษาปัญหาและอุปสรรคของเครือข่ายการรักษาผู้ป่วยเด็กโรคเนื้องอกสมองและไขสันหลังในประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเครือข่ายผู้ป่วยเด็กโรคเนื้องอกในสมองและไขสันหลังในประเทศไทย คณะผู้จัดทำต้องการค้นหาปัญหาและอุปสรรคในระบบ ...
    • โรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อในโรงพยาบาลในผู้ใหญ่ สาเหตุและความชุกของการดื้อต่อยาปฏิชีวนะช่วงปี พ.ศ. 2554-2555 โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี 

      ภริตา บุญรักษา; Pharita Boonraksa; คมกฤษณ์ ปัญญวัฒนกิจ; Komkrit Punyawattanakit; ทอม กำภู ณ อยุธยา; Tom Kambhu Na Ayudhya; วีรวรรณ แก้วทอง; Veerawan Kaewthong; กชกร พงศ์พิศาล; Kotchakorn Pongpisarl; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อในโรงพยาบาลเป็นหนึ่งในปัญหาการติดเชื้อภายในโรงพยาบาลที่พบบ่อยที่สุด มีความสัมพันธ์กับอัตราการเสียชีวิตที่สูงในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่รักษาตัวที่โรงพยาบาล งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของเชื้ ...
    • มาตรการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในประเทศไทย 

      ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      สถานการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยามีแนวโน้มสูงขึ้นในโรงพยาบาล การมีมาตรการควบคุมโรคติดเชื้อ (Hospital Infection Control; IC) และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antimicrobial Stewardship Programs; ASP) จึงมีความสำคัญ ...
    • การกระจายและการใช้ยาปฏิชีวนะของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คลินิก และร้านยา 

      นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ความไม่สอดคล้องระหว่างรายการยาปฏิชีวนะที่มีใช้ในหน่วยบริการ กับศักยภาพการให้บริการของหน่วยบริการ อาจทำให้เกิดการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล อันจะส่งผลต่อการเกิดเชื้อดื้อยา การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายแล ...
    • การเปรียบเทียบผลของการจ่ายและการไม่จ่ายยาปฏิชีวนะของร้านยาในโรคที่พบบ่อยต่อสุขภาพและความพึงพอใจของผู้ป่วย 

      วิรัตน์ ทองรอด; Wirat Tongrod; กฤติน บัณฑิตานุกูล; Krittin Bunditanukul; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; วราวุธ เสริมสินสิริ; Varavoot Sermsinsiri; ณีรนุช ทรัพย์ทวี; Niranut Subthawee; สมบัติ แก้วจินดา; Sombat Kaeochinda; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ร้านยาเป็นแหล่งให้บริการด้านสุขภาพระดับปฐมภูมิที่สำคัญ แต่ร้านยาหลายแห่งยังจ่ายยาปฏิชีวนะในโรคที่พบบ่อยซึ่งส่วนใหญ่ไม่จำเป็นต้องใช้ เช่น โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน โรคท้องร่วงเฉียบพลัน และแผลเลือดออก สาเหตุสำคัญ คือ ...
    • กิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้โรคมะเร็งปากมดลูกผ่านสื่อโดยผู้จำหน่ายวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวี 

      ภาสกรณ์ โพธิ์ศรี; Passakorn Phosi; มณีรัตน์ รัตนามหัทธนะ; Maneerat Rattanamahattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกที่บริษัทผู้ผลิต/ผู้จำหน่ายวัคซีนป้องกันการติดเชื้อเอชพีวีนำเสนอผ่านสื่อโทรทัศน์ สื่อนิตยสาร และสื่ออินเตอร์เน็ต ...
    • การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารคลังเวชภัณฑ์ด้วยวิธีการจัดการคลังสินค้าโดยคู่ค้าแบบประยุกต์ กรณีศึกษาสถานีอนามัยลูกข่ายโรงพยาบาลคลองลาน จังหวัดกำแพงเพชร 

      นฤมิตร อินทุยศ; Narumit Intoyos; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      แนวการจัดการโลจิสติกส์โดยวิธีจัดการคลังสินค้าโดยคู่ค้าแบบประยุกต์ ได้ถูกนำมาปรับใช้ในหลายภาคส่วนที่มีการจัดการสินค้าคงคลัง และมีการพิสูจน์ถึงประโยชน์ชัดเจน แต่ในการจัดการการกระจายเวชภัณฑ์ โดยเฉพาะขั้นตอนการกระจายสู่สถานี ...
    • มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา ...
    • การบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ กรณีศึกษาจังหวัดระนอง 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; Parinda Seneerattanaprayul; ธัญธิตา วิสัยจร; Thunthita Wisaijohn; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจวิธีบริหารจัดการและดำเนินการของสถานพยาบาลภายใต้ 'นโยบายประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2553' ผ่านกรณีศึกษาของจังหวัดระนอง โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ...
    • ต้นทุนทางตรงที่ไม่เกี่ยวกับการแพทย์ของผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก: การศึกษาแบบภาคตัดขวาง 

      วิน เตชะเคหะกิจ; พิรกิจ วงศ์วิชิต; ธีรยุทธ สุขโสม; อภิชญา บุรพัฒนานนท์; วัชลาวลี แย้มแก้ว; กาญจน์กนก พูลติ้ม; ปฐมพร แก้ววานิช; สุภิดา ลอยธาร; ชนินาถ อินทร์ด้วง; ปฐมาวดี ชิตเพชร; วัชพล ธนมิตรามณี; Win Techakehakij; Piragit Wongwichit; Thirayut Suksom; Apichaya Burapatthananon; Watchalawalee Yamkaew; Kankanok Pooltim; Pathomporn Kaewwanich; Supida Loytharn; Chaninat Induang; Phatthamawadee Chitphet; Vatchapon Tanamittramanee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ต้นทุนทางตรงที่ไม่เกี่ยวกับการแพทย์เป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ในการเข้ารับการรักษาพยาบาล แต่การศึกษาเกี่ยวกับขนาดของภาระทางการเงินของครัวเรือนเกี่ยวกับต้นทุนนี้ยังมีน้อยอยู่ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมิ ...
    • การจัดการภัยพิบัติของระบบสาธารณสุข : กรณีศึกษาประสบการณ์การจัดการภัยพิบัติในภาคใต้ 

      วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; ประณีต ส่งวัฒนา; เนตรนภา คู่พันธวี; ลัพณา กิจรุ่งโรจน์; เนตรนภา พรมหมเทพ; วิวัฒน์ ศีตมโนชญ์; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; ต่อพงศ์ ครองไตรเวทย์; ชญานิษฐ์ เพ็ชรรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2556-11)
      ประเทศไทยต้องประสบภัยพิบัติที่มีความรุนแรงมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น ส่งผลกระทบต่อประชาชนและระบบสาธารณสุขที่มีหน้าที่ต้องดูแลสุขภาพของประชาชนที่ประสบภัยพิบัติในวงกว้าง การวางระบบการจัดการภัยพิบัติที่ดีจึงจำเป็นอย่างยิ่งในกา ...
    • การวิเคราะห์และจัดทำภาพอนาคตของระบบสุขภาพ 

      สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, 2556-10)
      การคาดการณ์อนาคต (Foresight) ของระบบสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของการเตรียมการเพื่อทบทวนธรรมนูญสุขภาพ ฉบับ พ.ศ. 2552 ด้วยการศึกษาแนวโน้มของปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ โอกาสและภัยคุกคาม ตลอดจนความไม่แน่นอนต่างๆ ...
    • แนวคิดและทัศนะต่อความเป็นธรรมของกลไกสำคัญในการอภิบาลระบบสุขภาพ 

      กฤษฎา บุญชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)
      มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและทัศนะของกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพต่อความหมายของความเป็นธรรม ทัศนะที่มีต่อนโยบายด้านสุขภาพว่าตอบโจทย์เรื่องความเป็นธรรมหรือไม่ อย่างไร และประมวลข้อเสนอของฝ่ายต่างๆ ในการพัฒนานโยบายเรื่องความ ...
    • การสังเคราะห์องค์ความรู้การสร้างความเข้มแข็งของระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 

      พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ; สารี อ๋องสมหวัง; นรินทร์ชัย พัฒนพงศา; จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543-09)
      การสร้างความเข้มแข็งของระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ จะเป็นยุทธศาสตร์ที่ใช้ในการกำหนดนโยบายและการวางแผน ทำให้ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. วิเคราะห์สถานก ...