สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI): Recent submissions
Now showing items 4541-4560 of 5572
-
การเปรียบเทียบความเคลื่อนไหวการปฏิรูประบบสุขภาพของนานาประเทศ : กรณีศึกษาประเทศอินเดีย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)การปฏิรูประบบสุขภาพของนานาประเทศ: กรณีศึกษาประเทศอินเดีย อินเดียเป็นหนึ่งในประเทศกำลังพัฒนาที่ไม่ได้ทำการปฏิรูประบบสุขภาพ อย่างไรก็ตามอินเดียก็มีการดำเนินการพัฒนาระบบสุขภาพมาโดยตลอดนับแต่เมื่อได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1947 ... -
การศึกษาผลกระทบต่อบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนภายใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)การศึกษาผลกระทบต่อบริการสุขภาพในภาวะวิกฤติ 3 จังหวัดชายแดนใต้ เป็นการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนาและเชิงวิเคราะห์ (Descriptive and Analytic Epidemiological Study) ของผลกระทบจากภาวะวิกฤติต่อการให้บริการในสถานบริการทุกระดับของภาครัฐ ... -
สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ ในประเทศไทย : รายงานเสนอต่อองค์การอนามัยโลก พ.ศ.2538
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและผลกระทบ ต่อสุขภาพ ในประเทศไทย :รายงาน เสนอต่อ องค์การอนามัยโลก พ.ศ.2538รายงานการศึกษาฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะแสดงให้เห็นถึงเหตุปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมในทุกๆ ด้าน ว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพของคนไทยอย่างไรบ้าง ... -
การสำรวจภาพลักษณ์สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เป็นองค์กรของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พร้อมๆ กับการจัดตั้งสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทค ... -
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)ผู้วิจัยเล็งเห็นว่าการพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพมีความสําคัญและสามารถนํามาใช้ในการประเมินสภาวะทางสุขภาพที่สําคัญของประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครสงขลาได้ อีกทั้งยังมีความสอดคล้องกับปัญหา วัฒนธรรม ค่านิยม และความต้องการของคนในพื้นที่ศึกษา ... -
สังคมภาคเหนือในยุคทักษิโณมิกส์และการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคชนบทที่เกิดขึ้นในรัฐบาลยุคของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ที่ได้ทุ่มเทเงินภาครัฐทั้งในและนอกงบประมาณแผ่นดินในการฟื้นฟูเศรษฐกิจ ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาแบบทวิวิถี (dual ... -
ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง : การสังเคราะห์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การพัฒนา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การศึกษานี้ต้องการประเมินศักยภาพที่ดำรงอยู่ของอสม.ในประเทศไทยที่สอดคล้องกับบริบททางสังคมและสถานการณ์สุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์ความรู้จากการทบทวนสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องทั้งจากเอกสารและการประชุมเชิงปฏิ ... -
ประวัติศาสตร์การพัฒนางานสาธารณสุขของไทย : บทวิเคราะห์การกระจายอำนาจและผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541) -
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการใช้สารเคมีอันตรายในภาคการเกษตรไทย
(มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2547)จากข้อมูลการใช้สารเคมีทางการเกษตรในประเทศไทยเป็นจำนวนมาก ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง ซึ่งจากการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ในเดือนสิงหาคม 2546 มีข้อเสนอให้รัฐบาลห้ามนำเข้าสารเคมีอันตราย กลุ่ม 1a และ ... -
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร : การวิจัยประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550) -
การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพบริการทันตกรรมในสถานพยาบาลที่ไม่ใช่โรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพบริการทันตกรรมในสถานพยาบาลที่ไม่ใช่โรงพยาบาล จากการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องทำให้ทราบว่า ปัจจุบันเกณฑ์การประเมินคุณภาพบริการด้านทันตกรรมของประเทศไทย มีการระบุไว้เป็นทางการเพียง 2 แห่ง ... -
รูปแบบการให้คำปรึกษา ทางพันธุกรรมศาสตร์โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540)รายงานการศึกษาผลการวิจัยรูปแบบการให้คำปรึกษาทางพันธุกรรมศาสตร์โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย การศึกษาผลการวิจัยรูปแบบการให้คำปรึกษาทางพันธุกรรมศาสตร์โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมวิเคราะห์รูปแบบการให้การปรึกษ ... -
งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพสตรีไทยระหว่างปี พ.ศ.2526-2537
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)Research on Thai Women's Health During 1993-1995This descriptive study. "Research on Thai Women's Health During 1993-1995" aims to collect and establish a database on women's health research conducted in Thai society and ... -
Quantitative assessments of disease impact on society : a conceptual approach to prioritization & agenda setting of health problems for policy determination in Thailand
(Health Systems Research Institute, 1998) -
ระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัดภายใต้โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในภาคใต้
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, [2546])การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการใช้บริการทันตกรรม โดยใช้บัตรทอง พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของประชาชน ความเข้าใจ ทัศนคติของประชาชนต่อโครงการ 30 บาท ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไปใช้บริการทางทันตกรรม ... -
พฤติกรรมและการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้ใช้แรงงานก่อสร้างเคลื่อนที่ในเขตก่อสร้าง จ.สมุทรปราการภายใต้นโยบายการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) ระยะที่ 1
(คณะสาธารณสุขศาสตร์,มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547)การศึกษาเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางของกลุ่มแรงงานก่อสร้างเคลื่อนที่แบบชั่วคราวที่มีบัตรทอง (30 บาท รักษาทุกโรค) จำนวน 457 คน โดยการสุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนของจำนวนผู้ใช้แรงงานที่กระจายอยู่ตามสถานที่ก่อสร้าง ในแต่ละอำเภอของจังหว ... -
การคลังระยะยาวของโครงการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ : ประมาณการรายจ่ายและแหล่งรายรับ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 อยู่ แต่ได้รับการงบประมาณอุดหนุน ด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้ และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยื ... -
รายงานภาพรวมกระบวนการวิจัยและพัฒนา : โครงการวิจัยและพัฒนาศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา ระหว่างพฤษภาคม 2536 - กันยายน 2539
(กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา, 2539) -
การสังเคราะห์ความรู้เพื่อสนับสนุนการยกร่างธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ : (ประเด็นที่ 9 : การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ ประเด็นที่ 10 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)ตามที่สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) และ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพและภาคประชาชน ได้ร่วมกันผลักดันการปฏิรูประบบสุขภาพมาตั้งแต่ พ.ศ.2542 ความพยายามดังกล่าวสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรมประการหนึ่ง ... -
ผลของระบบการประเมินการใช้ยา ต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)ผลของระบบประเมินการใช้ยาต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น หลักการและเหตุผล มูลค่าการใช้ยาเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 อันประกอบด้วย ceftriaxone, cefotaxime และ ceftazidime ของโรงพยาบาลขอนแก่นมีปริมาณการใช้ที่สูง ...