Now showing items 4941-4960 of 5571

    • ปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร 

      ภิรมย์ กมลรัตนกุล; เกื้อ วงศ์บุญสิน (2540)
      การศึกษานี้นับว่าเป็นการวิจัยที่มีคุณค่าและมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ข้อมูลทางด้านสังคมและสาธารณสุขที่ค่อนข้างละเอียดของคนงานก่อสร้างในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้การวิจัยเชิงพรรณา ซึ่งต่างจากงานวิจัยอื่นๆ ที่ผ่านมาที่มักใช้ระ ...
    • บทบรรณาธิการ 

      ธีระ รามสูต (2540)
    • การประเมินผลโครงการรณรงค์ให้ความรู้ในการเลือกซื้ออาหารและยา 

      Yongyout Kachondham; ยงยุทธ ขจรธรรม (2537)
      งานศึกษานี้เป็น External Evaluation สำหรับโครงการที่หน่วยงานในส่วนภูมิภาคดำเนินงานเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข ช่วงปี 2536 เพื่อให้ได้ข้อมูลสำหรับการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการและพัฒนาการดำเนินงานให้ดียิ่งขึ้น ...
    • เปรียบเทียบการประเมินโรคขาดสารไอโอดีนและผลของการใช้มาตรการต่างๆ ในการควบคุมโรค อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี 

      จุฑาภรณ์ ชูสมภพ; นิศา รวมธรรม (2540)
      บทความนี้ได้สะท้อนภาพของการดำเนินงานลดปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนที่ได้จากการประเมินในพื้นที่ที่มีการระบาดสูง ซึ่งขึ้นอยู่กับเทคนิคการคลำคอที่ถูกต้องและมาตรการต่างๆ ที่ใช้ รวมทั้งการครอบคลุมของบริการและความต่อเนื่องของบริการ ...
    • กฎหมายคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ในร้านอาหารที่มีห้องอาหารปรับอากาศ 

      ชูชัย ศุภวงศ์; สุภกร บัวสาย; นวลอนันต์ ตันติเกตุ (2540)
      จาการศึกษาวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความเข้าใจเรื่องโทษภัยของบุหรี่เป็นอย่างดี และต้องการให้ร้านอาหารโดยเฉพาะร้านที่ติดเครื่องปรับอากาศขยายเขตปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้นจากเดิม ในขณะที่ด้านเจ้าหน้าที่รัฐผู้รับ ...
    • สถานะสุขภาพอนามัยของประชากรไทยและแนวโน้มอนาคต 

      พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์; ดุสิต สุจิรารัตน์; กุลยา นาคสวัสดิ์; อุไรวรรณ คนึงสุขเกษม (2539)
      แม้ว่าแนวโน้มในอนาคต คนไทยจะมีอายุยืนยาวขึ้น แต่โรคในผู้สูงอายุก็จะเพิ่มขึ้นด้วย ในขณะที่โรคเอดส์ โรคติดเชื้อ ที่กลับมาระบาดใหม่โดยมีผู้อพยพจากประเทศเพื่อนบ้านเป็นพาหะ อุบัติเหตุและความรุนแรง ปัญหาสิ่งแวดล้อม สภาวะความเจ ...
    • วิสัยทัศน์งานผลิตยาในโรงพยาบาล: มุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์ 

      สถิตพงศ์ ธนวิริยะกุล (2540)
      การผลิตยาในโรงพยาบาลและการเพิ่มบทบาทเภสัชกรที่ต้องเน้นด้านผู้ป่วยมากขึ้น เป็นมุมมองซึ่งผู้เกี่ยวข้องควรกำหนดนโยบายและหลักการปฏิบัติให้ชัดเจนว่าจะผลิตในระดับเพื่อการประหยัดและพึ่งตนเอง หรือในระดับเชิงอุตสาหกรรม/ธุรกิจ ...
    • การจัดบริการสุขภาพให้แก่พนักงานในองค์กรขนาดใหญ่ 

      มานิตย์ ประพันธ์ศิลป์ (2540)
      การดูแลสุขภาพอนามัยแก่พนักงานในองค์กรขนาดใหญ่ นอกจากเป็นบริการที่จำเป็นที่จะต้องจัดขึ้นเพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.แรงงานแล้ว ยังเป็นมาตรการสำคัญยิ่งในด้านการประกอบการและการอาชีวอนามัย เพื่อมุ่งจัดบริการด้านสุขภาพให้ครบแบบอง ...
    • การมีส่วนร่วมของคนงานในการพัฒนาคุณภาพบริการของสถานพยาบาลประกันสังคม 

      บัณฑิตย์ ธนชัยเศรษฐวุฒิ (2540)
      บทความนี้นับว่ามีคุณค่ามากในการสะท้อนภาพสถานการณ์และปัญหาการดำเนินงานโครงการประกันสังคมอย่างแท้จริง ในฐานะองค์กรกลางและนักวิจัย ซึ่งสอดแทรกระหว่าง 4 ฝ่ายที่ปฏิสัมพันธ์กัน คือ 1) ลูกจ้างผู้ประกันตน/องค์กรแรงงาน (สหภาพ) 2) ...
    • การประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษากับระบบบริการสาธารณสุขเพื่อการพัฒนากำลังคน และระบบบริการสาธารณสุข โดยรูปแบบการวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2533-2534 (สรุปย่อสาระสำคัญ) 

      Khonkaen Provincial Health Office; สำนักงานสาธารณสุขจ้งหวัดขอนแก่น; The North-Eastern Public Health Collage; วิทยาลัยการสาธารณสุขภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2537)
      งานวิจัยระบบสาธารณสุขชิ้นนี้ ดำเนินการวิจัยในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ช่วงปี พ.ศ. 2533-2534 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณบางส่วนจากองค์การอนามัยโลก ที่นำเสนอนี้เป็นสรุปย่อสาระสำคัญ เอกสารฉบับสมบูรณ์ จัดพิมพ์เผยแพร่โดยสำนักงานสา ...
    • การวางแผนความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพ 

      อำพล จินดาวัฒนะ; วงเดือน จินดาวัฒนะ; ณิชากร ศิริกนกวิไล (2539)
      การวางแผนความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพสัมพันธ์โดยตรงกับการกำหนดนโยบายและการวางแผนสาธารณสุข ปัจจุบันมีวิธีการคาดประมาณความต้องการหลายวิธี ไม่มีวิธีใดที่สุด จึงควรใช้ร่วมกัน บทความนี้นำเสนอแนวคิด ทฤษฎี และประสบการณ์บางส่วนเ ...
    • โปรแกรม Birth Risks ของราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย 

      ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย (2539)
    • หลักการและการประยุกต์ใช้คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพที่ประชาชนในประเทศต่างๆ ต้องเผชิญอาจมีลักษณะเหมือนกัน แต่คุณค่าของคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกลับแตกต่างกันไปได้ ซึ่งสืบเนื่องจากการให้คุณค่าของสังคมและประชาชนที่แตกต่างกันไป แต่ละประเทศจึงอาจดำเนินนโยบายส ...
    • ความเร็วเป็นปัญหาความปลอดภัยบนถนนจริงหรือ 

      ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล (2539)
      ความเร็วรถมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความปลอดภัยบนท้องถนน ทุกประเทศจึงมีมาตรการจำกัดความเร็ว และมีวิธีบังคับใช้กฎหมายจำกัดความเร็วต่างๆ เช่น การใช้กำลังเจ้าหน้าที่ตรวจจับ เครื่องมืออัตโนมัติต่างๆ การออกแบบถนน การควบคุมกำลังเครื่องยนต์ ...
    • ไปดูเขาพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในแคนาดา โดยกระบวนการ Accreditation 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2539)
      ความสำเร็จของกระบวนการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในแคนาดา อยู่ที่ความตระหนักในคุณค่าของการประเมินตนเอง และการยืนยันผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกด้วยความสมัครใจ ทั้งขึ้นอยู่กับกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพจำนวนหนึ่งที่มาทำงานร่วม ...
    • Hospital Accreditation : สถานการณ์และแนวทางพัฒนาในประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (2539)
      ปัจจุบันหลายหน่วยงานตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพบริการทางการแพทย์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการสร้างหลักประกันให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพเป็นเรื่องจำเป็น ปัญหาก็คือระบบและวิธีการที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทยควรจะเป็นอย่างไร ...
    • แพทย์ในอนาคต 

      แพทย์นิรนาม (2539)
      แนวคิดและกระบวนการทำงานแบบ TQM เพื่อพัฒนาคุณภาพในระบบบริการสุขภาพ อาจจะยังเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาสำหรับการเรียนรู้ ยอมรับทำความเข้าใจ และนำมาใช้ให้เกิดผลตามจุดมุ่งหมาย ประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้ที่บอกผ่าน "เรื่องเล่า" ...
    • คุณภาพบริการโรงพยาบาลในสายตาผู้ป่วย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (2539)
      การสำรวจความพึงพอใจของผู้ป่วยเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพบริการของโรงพยาบาล งานวิจัยนี้ได้ประเมินความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อคุณภาพบริการทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของโรงพยาบาล 9 แห่งในกรุงเทพฯ ...
    • พฤติกรรมการเลือกสถานพยาบาลและการใช้บริการรักษาพยาบาลของผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม จังหวัดนนทบุรี 

      ปรียา ผาติชล (2540)
      พฤติกรรมการเลือกและใช้สถานพยาบาลของผู้ประกันตน มีแนวโน้มที่จะนิยมเลือกใช้โรงพยาบาลเอกชนมากขึ้น ผู้ประกันตนที่เป็นเพศหญิง อายุน้อย รายได้มากขึ้น และรู้เรื่องประกันสังคมมากขึ้นจะนิยมเปลี่ยนโรงพยาบาลมากขึ้น และสัดส่วนการใช้ ...
    • นานาทัศนะและประสบการณ์ บนเส้นทางคุณภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2539)
      ทีมกองบรรณาธิการได้พบปะกับนักวิชาการและนักบริหารซึ่งพยายามแสวงหาวิธีการและทดลองแนวความคิดต่างๆ ว่าจะทำให้บริการสุขภาพที่ตนรับผิดชอบอยู่นั้นดีกว่าที่เป็นอยู่ได้อย่างไร ความหลากหลายของวิธีการคิดและการทำงานเป็นความงดงามที่ส ...