Now showing items 921-940 of 5446

    • การศึกษาประสิทธิผลและการประเมินความคุ้มค่าการรักษาด้วยเครื่องพลาสมาเฟเรซิส 

      สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; ธนวรรณ ปรีพูล; Tanawan Preepul; ศิริรัตน์ อนุตระกูลชัย; Sirirat Anutrakulchai; จารุพร พรหมวงศ์; Jaruporn phromwong; เกษราพร วงษ์บา; Ketsaraporn Wongba; มนธรี สวโรจน์; Montaree Sawarojh; จิราวดี น้อยวัฒนกุล; Jirawadee Noiwattanakul; สหรัฐ อังศุมาศ; Saharat Aungsumart; เมธา อภิวัฒนากุล; Metha Apiwattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      Therapeutic Apheresis คือ การรักษาผู้ป่วยด้วยการแยกเอาส่วนประกอบที่อยู่ในเลือด เช่น เม็ดเลือดขาว น้ำเหลือง สารที่อยู่ในน้ำเหลืองซึ่งเป็นสาเหตุของโรคออกจากตัวผู้ป่วย จากการทบทวนวรรณกรรมอย่างรอบด้าน พบว่าข้อบ่งชี้ของการทำ ...
    • การใช้แบบจำลองพลวัตระบบในการวางแผนบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพในระยะ 10 ปีข้างหน้า: โครงการนำร่องเขตสุขภาพที่ 2 

      กฤษดา แสวงดี; Krisada Sawaengdee; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ฑิณกร โนรี; Thinakorn Noree; กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์; Karnwarin Gongkulawat; ทัดดาว ศรีบุรมณ์; Thatdao Sriburom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-07)
      การปฏิรูปกำลังคนด้านสุขภาพเป็นหนึ่งในประเด็นการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขที่กำหนดเป้าหมายให้มีกำลังคนด้านสุขภาพเพียงพอต่อการให้บริการสุขภาพเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการมีสุขภาพดีของประชาชน ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนกำลัง ...
    • การพัฒนารูปแบบบริการปฐมภูมิสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยใช้นวัตกรรมเครือข่ายผู้ช่วยเหลือผู้ป่วยที่บ้าน 

      ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; มฑิรุทธ มุ่งถิ่น; Mathirut Mungthin; ปนัดดา หัตถโชติ; Panadda Hatthachote; บุญทรัพย์ ศักดิ์บุญญารัตน์; Boonsub Sakboonyarat; ยุภาพร ศรีจันทร์; Yupaporn Srichan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04)
      ในบริบทของสังคมประเทศไทยที่กำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างเต็มรูปแบบและรอบด้าน เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งผู้วิจัยคิดว่าการ ...
    • การพัฒนาแบบจำลองบูรณาการระบบการแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบาย 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; พาส์น ฑีฆทรัพย์; Pard Teekasap; แพรวนภา พันธุ์สวาสดิ์; Praewnapa Puntusavase; วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Sornsrivichai; ปณิธี ธัมมวิจยะ; Panithee Thammawijaya; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjonchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      กรอบแนวคิดที่ประเทศไทยใช้กำหนดทิศทางของการจัดการปัญหาการระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19 (COVID-19) ภายใต้บริบทของระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน อาจมีแนวโน้มของการคิดแยกส่วนโดยอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพา ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาการดำเนินงานของเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตที่ 3 

      ชมนาด วรรณพรศิริ; Chommanard Wannapornsiri; สมศักดิ์ โทจำปา; Somsak Thojampa; ธนัช กนกเทศ; Thanach Kanokthet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและประเมินผลการนำนโยบายเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตที่ 3 ไปดำเนินงานและสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการดำเนินงานเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตที่ 3 แหล่งข้อมูลเป็นเอกสารที่เกี่ย ...
    • ระบบยาของประเทศไทย 2563 

      คณะกรรมการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย 2563 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      หนังสือ “ระบบยาของประเทศไทย 2563” หรือ “Thai Drug System 2020” เล่มนี้ นับเป็นหนังสือรายงานสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับระบบยาในประเทศไทยที่จัดทำขึ้นเป็นเล่มที่ 3 ภายหลังจากเล่มที่ 1 ที่ออกเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2537 และเล่มที่ 2 ...
    • เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมว่าด้วยเส้นทางชีวิตและกิจกรรมร่วมของครัวเรือนไทยภายใต้สถานการณ์ COVID-19 

      ธานี ชัยวัฒน์; Thanee Chaiwat; นิชาภัทร ไม้งาม; Nichapat Mai-Ngam; ณัฎฐ์ศุภณ ดำชื่น; Nartsupon Dumchuen; จารุวัฒน์ เอมซ์บุตร; Jaruwat Amesbutr; ปกรณ์สิทธิ ฐานา; Pagornsit Thana; ชนลักษณ์ ชัยศรีลักษณ์; Chanalak Chaisrilak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติตามมาตรการสาธารณสุขและข้อจำกัดของการปฏิบัติดังกล่าว ในการป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคโควิด-19 ของคนไทยในกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กลุ่มคนในเขตเมือง กลุ่มคนจนเมือง ...
    • ความปกติใหม่ของระบบวิจัยสุขภาพหลังโควิด 19 ระบาดทั่วโลก 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      ขณะที่สถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19 ทั่วโลกกำลังทะลุ 10 ล้านคน และยอดผู้เสียชีวิตเกือบ 5 แสนคน ในวันที่ 27 มิถุนายน 2563 ในประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อสะสม 3,162 คน และเสียชีวิตเพียง 58 คน บทบรรณาธิการฉบับนี้ชวนตั้งคำถามถึง ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2563 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2563 ประกอบด้วยบทบรรณาธิการ เรื่อง ความปกติใหม่ของระบบวิจัยสุขภาพหลังโควิด 19 ระบาดทั่วโลก โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย และนิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1. ...
    • นโยบายกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุ: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      อัจฉรา ปุราคม; Atchara Purakom; มาสริน ศุกลปักษ์; Masarin Sukolpuk; นิตยา แสงชื่น; Nittaya Sangcheun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-20)
      นโยบายกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มภาวะพฤฒพลังมีความสำคัญในระดับสากล รวมทั้งประเทศไทย ฐานข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ จึงมีความจำเป็นในการกำหนดทิศทางการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผู้สูงอายุกลุ่มภ ...
    • ความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาล 

      อุมารินทร์ คำพูล; Aumarin Kumpool; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาลในแง่ความเห็นพ้องกับเกณฑ์การคัดแยกผู้ป่วยของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ...
    • ความถูกต้องของการวินิจฉัยภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลโดยผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน 

      สุนิสา ต๋าจ๊ะ; Sunisa Taja; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham; วิพุธ เล้าสุขศรี; Wiput Laosuksri; รัดเกล้า สายหร่าย; Rudklao Sairai; วีรพล แก้วแปงจันทร์; Weerapont Kaewpaengchan; เชิดพงษ์ ปัญญา; Cherdpong Panya; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล การศึกษาก่อนหน้านี้รายงานว่า การวินิจฉัยของผู้จ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน (ผจป.) มีความถูกต้องในระดับที่แตกต่างกันไปในแต่ละที่ แต่ยังไม่พบการศึกษาในประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาความถูกต้อง ...
    • ต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลท่าสองยาง จังหวัดตาก 

      สุชาติ เปี่ยมปรีชา; Suchat Piempreecha; ธวัชชัย ยิ่งทวีศักดิ์; Tawatchai Yingtaweesak; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลท่าสองยาง จังหวัดตาก ในมุมมองของผู้ให้บริการ โดยศึกษาข้อมูลย้อนหลัง ปีงบประมาณ 2561 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561 ใช้รูปแบบการวิเคราะห์ ...
    • วิธีวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย: วิธีต้นทุนจุลภาค 

      อรทัย เขียวเจริญ; Orathai Khiaocharoen; ชัยโรจน์ ซึงสนธิพร; Chairoj Zungsontiporn; ธันวา ขัติยศ; Tanwa Khattiyod; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชลธิดา ใบม่วง; Cholthida Baimuang; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนรายโรคสำหรับประเทศไทย และศึกษาต้นทุนกิจกรรมบริการ ต้นทุนรายโรค และต้นทุนรายกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (diagnosis related group, DRG) โดยวิเคราะห์ต้นทุนในมุมมองของผู้ให้บริการ ...
    • การประเมินผลเบื้องต้น: ประสบการณ์การได้รับการดูแลแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; Vorasith Srisornvichai; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      โครงการวิจัยดำเนินการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ได้นำร่องการปรับรูปแบบและกระบวนการจัดบริการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิหรือคลินิกหมอครอบครัว (primary care cluster: PCC) จำนวน 20 แห่งในการดูแ ...
    • การทบทวนและพัฒนาข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้บัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าว 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      กระทรวงสาธารณสุขออกมาตรการในการประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้บัตรประกันสุขภาพนี้มีการปรับเปลี่ยนไม่มากนักในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื ...
    • การทบทวนกระบวนการพัฒนายุทธศาสตร์สุขภาพโลก และกลไกการติดตามและการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์สุขภาพโลก ประสบการณ์จาก 8 ประเทศ 

      วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการคัดเลือกประเด็นสุขภาพโลกมาเป็นเป้าหมายการดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์สุขภาพโลก รวมถึงการประเมินและการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ฯ ในประเทศต่างๆ และเพื่อให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกระบวนการพ ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการจ้างพยาบาลเกษียณอายุในสถานบริการสุขภาพ สังกัดภาครัฐ 

      วันเพ็ญ แก้วปาน; Wonpen Kaewpan; เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย; Phechnoy Singchongchai; สุรินธร กลัมพากร; Surintorn Kalampakorn; จุฑาธิป ศีลบุตร; Jutatip Sillabutra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานโยบายในการจ้างงานพยาบาลเกษียณอายุในสถานบริการสุขภาพ สังกัดภาครัฐ โดยมีรูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน โดยมีขั้นตอนดำเนินการดังนี้ 1) ทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการจ้างงานและสถานการณ์การจ้างงาน ...
    • คู่มือเกณฑ์มาตรฐานการบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม 

      ซอฟียะห์ นิมะ; Sawpheeyah Nima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      คู่มือเกณฑ์มาตรฐานการบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรม เล่มนี้ อยู่ภายใต้โครงการการประยุกต์ใช้ระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในระบบบริการสุขภาพภาครัฐทั้งสามระดับต่อการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดบริการที่สอดคล้องกับบริบทภูมิสังคมในจังหวัดชายแดนใต้ ...
    • การประยุกต์ใช้ระบบบริการสุขภาพพหุวัฒนธรรมในระบบบริการสุขภาพภาครัฐทั้งสามระดับต่อการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดบริการที่สอดคล้องกับบริบทภูมิสังคมในจังหวัดชายแดนใต้ 

      ซอฟียะห์ นิมะ; Sawpheeyah Nima; พาตีเมาะ นิมา; Patimoh Nima; อิลฟาน ตอแลมา; Ilfarn Tolaema (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-25)
      ภูมิหลังปัญหา: จังหวัดชายแดนใต้ ประกอบด้วย จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาสและ 4 อำเภอจังหวัดสงขลา คือ นาทวี จะนะ เทพาและสะบ้าย้อย ถือเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายของวิถีชีวิตภายใต้กรอบความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรมและกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ...