• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Research Reports
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ : รายงานคณะทำงานวิเคราะห์ระบบการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ

ประพันธ์ศักดิ์ บูรณะประภา; Prapansak Buranaprapa; วีระพล จิระประดิษฐกุล; อินทิรา เอื้อมลฉัตร; สุปราณี จงดีไพศาล; สาโรจน์ ปาสาทิกา;
วันที่: 2544
บทคัดย่อ
การพัฒนาด้านสังคม เศรษฐกิจ อย่างรวดเร็วเป็นสาเหตุหนึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะมลภาวะกับน้ำ อากาศ และดิน การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนไทย สูญเสียค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพจำนวนมากมาย ในปี พ.ศ. 2541 ประมาณการณ์การสูญเสียชีวิตและการบาดเจ็บเนื่องจากอุบัติเหตุทางรถยนต์อยู่ที่หนึ่งแสนล้านบาท ในภาพรวมค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพคิดเป็น 6% ของ GDP การป้องกันการสูญเสียและการแก้ไขในระยะแรกต้องดำเนินการโดยทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้อง การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) เป็นวิธีการใหม่เพื่อประเมินระดับผลกระทบต่อสุขภาพ การพัฒนาระบบ HIA เป็นสิ่งจำเป็น และควรกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ประเด็นที่ควรครอบคลุมในการพัฒนาระบบ ได้แก่ การเจ็บป่วยทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง การบาดเจ็บ อาชญากรรม และความรุนแรงในสังคม HIA ต้องดำเนินการโดยหลายๆ กลุ่ม หลายองค์กร ในรูปเครือข่าย และมีความโปร่งใส HIA จะประกอบด้วยสองส่วน ได้แก่ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพภายใต้การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและส่วนที่สองคือ การจัดการด้านความเสี่ยง องค์กรที่รับผิดชอบ HIA สามารถแบ่งออกเป็นสามกลุ่ม กลุ่มแรกเป็นองค์กรที่กำหนดนโยบาย วิธีการ มาตรฐาน ระเบียบ และกลไกสำหรับ HIA กลุ่มที่สองเป็นองค์กรที่ถูกประเมิน ทำหน้าที่ประเมิน ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ หรือเป็นองค์กรทำหน้าที่รวบรวม หรือให้การรับรอง ลงทะเบียน และควบคุมมาตรฐาน องค์กรในกลุ่มที่สาม ได้แก่ องค์กรที่ให้ข้อมูลกับชุมชน และทำงานด้านวิจัยและการพัฒนา ประเด็นหลักสามประเด็นเพื่อการวิจัยและพัฒนาในระยะสั้นมีดังนี้ เตรียมตัวสำหรับการพัฒนาระบบ การศึกษาและการพัฒนาบุคลากร พัฒนาคู่มือการจัดการด้านความเสี่ยง และการจัดการด้านเสี่ยงด้านสุขภาพ HIA ภายใต้การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมควรได้รับการสนับสนุน

บทคัดย่อ
Health Impact EvaluationFast development of socio-economic environment was regarded as a promoting factor to environmental changes particularly air, water, soil pollution. This change had impact on life quality of Thais and huge expenditures for health care. For example, in 1998, economic value of life loss and injuries caused by road accidents was estimated at 100,000 million Baht. Overall, expenditure for health care represented about 6% of GDP.To reduce that loss, preventative measures and initial correction must be emphasised by all parties in our society. Health impact assessment (HIA) was a new measure to determine level of consequent impact on health. Development of the HIA system was considered important and should be stated in National Health Act. Issues which should be available in the Act were health impact assessment or environment health impact assessment covering both acute and chronic diseases, injuries, crimes and society violence. The implementation of HIA should not be taken by sole party. Instead, working in alliance form or networking must be promoted with accountability and transparency. HIA was composed of two parts which were HIA under analysis of environment and risk management. Organisations responsible for HIA can be grouped into 3 types. The first group was the organisation responsible for determining policy, measures, standards, regulations and mechanisms for HIA. The second group was the organisations which were evaluated, involved in using information for making decision, the evaluators, trainers, responsible for accreditation, registration and monitoring standards. The third group was the organisations providing community information and performing research and development.Main issues for research and development in short term were as following:preparation for system development, education and human resource development should be firstly done,manual of risk management and health risk management should be developed,HIA under analysis of environmental impact should be strengthened.
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: hs0844.pdf
ขนาด: 980.9Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 0
ปีงบประมาณนี้: 8
ปีพุทธศักราชนี้: 1
รวมทั้งหมด: 188
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • Research Reports [2469]

    งานวิจัย

ชิ้นงานที่เกี่ยวข้อง

แสดงชิ้นที่เกี่ยวข้องโดย ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ผู้สร้าง และหัวเรื่อง

  • การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อจัดทำข้อเสนอ การปฎิรูประบบบริการสุขภาพ และการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทย 

    วรรณภา ศรีธัญรัตน์; Wannapa Srithanyarat; ผ่องพรรณ อรุณแสง; อัมพร เจริญชัย; สุจิตรา ลิ้มอำนวยลาภ; กัลยา พัฒนศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    เอกสารนี้นำเสนอผลการสังเคราะห์องค์ความรู้ เพื่อจัดทำข้อเสนอการปฏิรูประบบบริการสุขภาพและการสร้างหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุไทย ในกระบวนการสังเคราะห์ได้มีการศึกษาวิเคราะห์การดำเนินงานด้านระบบบริการสุขภาพและหลักประกันส ...
  • การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโยบายหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ต่อกลุ่มทอผ้าพื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 

    เกษราวัลณ์ นิลวรางกูร; Ketsarawan Nlilwarangkul; จรัญญา วงษ์พรหม; ชลิดา ธนัฐธีรกุล; สุมน ปิ่นเจริญ; Charunnya Wongphom; Chalida Tanutteerakul; Sumon Pincharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
    นโยบายหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เป็นนโยบายที่ถูกกำหนดเพื่อยกระดับความเป็นอยู่ทางเศรษฐกิจของประชาชนในท้องถิ่น การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาขอบเขตของนโยบายและการกระตุ้นการพัฒนาของนโยบายต่อกลุ่มทอผ้าพื้นบ้าน ...
  • เคล็ดไม่ลับ R2R : บริบทโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป/ชุมชน 

    วิจารณ์ พานิช; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สรชัย จำเนียรดำรงการ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (แผนงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยในรูปแบบงานวิจัยจากงานประจำสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-07)
    ภายในเวลา 5 ปี ที่ R2R งอกงามขึ้นที่ศิริราช บัดนี้ R2R ได้แพร่ขยายออกไปทั่วประเทศไทย ในหน่วยงานด้านสุขภาพ ภายใต้การจัดการของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่หลากหลาย กระบวนการขับเคลื่อนไปสู่วงการสา ...

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV