dc.contributor.author | วิโรจน์ ณ ระนอง | th_TH |
dc.contributor.author | Viroj Na Ranong | en_US |
dc.contributor.author | อัญชนา ณ ระนอง | th_TH |
dc.contributor.author | ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา | th_TH |
dc.contributor.author | Anchana Na Ranong | en_US |
dc.contributor.author | Sasiwut Vongmontha | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:17:52Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:41:51Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:17:52Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:41:51Z | |
dc.date.issued | 2548 | en_US |
dc.identifier.other | hs1173 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1197 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่องผลกระทบในระยะแรกของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ “30 บาทรักษาทุกโรค” ที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน โดยเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลที่ประชาชนกลุ่มต่างๆ ต้องรับภาระในปัจจุบันเทียบกับในอดีต ทั้งนี้ การลดค่าใช้จ่ายของประชาชนให้ลดลงมาอยู่ในระดับที่ไม่มีผลกระทบที่รุนแรง นับว่าเป็นวัตถุประสงค์ที่สำคัญประการหนึ่งของการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าภายในประเทศ ผลการศึกษาพบว่าหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ถือเป็นโครงการที่ได้รับการตอบรับจากประชาชนเป็นอย่างดี เพราะเป็นโครงการที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน มุ่งเน้นให้บริการแก่ประชาชนเพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรง ที่สำคัญคือ โครงการหลักประกันสุขภาพต่างๆต้องการให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้ามามีส่วนร่วม ( รับบริการ ) ตามสิทธิประโยชน์ของตนเองได้อย่างเต็มที่ รัฐบาลได้เล็งเห็นว่าเรื่องสุขภาพของประชาชนภายในประเทศเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต้องรีบพัฒนาอย่างเร่งด่วน แต่ประชาชนในประเทศส่วนใหญ่มีข้อจำกัดทางด้านฐานะที่ยากจนมีรายได้น้อย ดังนั้นจึงไม่ค่อยได้รับการบริการทางด้านการรักษาพยาบาลมากเท่าที่ควรจะเป็น รัฐบาลจึงคิดโครงการหลักประกันสุขภาพต่างๆเหล่านี้ขึ้นมา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตทางด้านสุขภาพของคนในชาติให้มีมาตรฐานเพิ่มมากยิ่งขึ้น สรุปผลการศึกษาได้ว่าสัดส่วนของคนจนจากการรักษาพยาบาลที่มีหลักประกันสุขภาพลดลงประมาณร้อยละ 1.44 ของครัวเรือนทั้งหมด ซึ่งเมื่อคิดเป็นจำนวนประชากรก็ลดลงประมาณ 1 ล้านคน หรือลดลงประมาณร้อยละ 16.7 ของคนจนทั้งหมด ซึ่งสถิติที่ชี้ให้เห็นว่าโครงการหลักประกันสุขภาพมีส่วนอย่างมากในการลดจำนวนคนจนลงได้มากถึงร้อยละ 14 ซึ่งเป็นจำนวนที่บ่งบอกว่าเป็นโครงการที่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชนในประเทศได้ จึงถือได้ว่าโครงการหลักประกันสุขภาพ ( โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค และโครงการอื่นๆ ) ประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงในการที่จะทำให้ประชาชนในประเทศปราศจากความจนและมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.description.sponsorship | สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ | en_US |
dc.format.extent | 591498 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Universal Health Coverage | en_US |
dc.subject | Universal Health Coverage | en_US |
dc.subject | Expenditures Health | en_US |
dc.subject | Health Insurance Systems | en_US |
dc.subject | นโยบายด้านสุขภาพ -- ค่าใช้จ่าย | en_US |
dc.subject | ประกันสุขภาพ -- ค่าใช้จ่าย | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ -- ค่าใช้จ่าย | en_US |
dc.subject | ระบบประกันสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ 30 บาทฯ ที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่2 | th_TH |
dc.title.alternative | Impacts of the Universal Health Coverage and the 30 Baht Health Care Scheme on Household Expenditures and Poverty Reduction in Thailand | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study provides preliminary estimates on effects of the 30 Baht Scheme and the universal health coverage program on households cost savings and on poverty reduction. The estimates employ data mainly from two nationwide surveys-the socioeconomic survey (SES) and the health and welfare survey (HWS). In terms of poverty reduction the study compares over time the percentage of those who were impoverished because of health care expenses using data from SES. The figures are drawn from the households that had per-capita income more than that of the poverty line, but had after-health-care income (gross income after subtracting households health expenditure) that fell below the poverty line. We find that percentage of these impoverished group had been declining from 2.15% of total households in 1992 to 1.84% and 1.53% in 1994 and 1996, 1.1% and 1.3% in 1998 and 2000, and 0.7% in 2002. The early declines could be attributed to the expansion of Health Welfare Program for the Low Income Group to cover the elderly and children in 1994 and its subsequent financing reform toward per-capita budgeting that took place between 1998-2000. The recent decrease in 2002 is most likely results of the 30 baht scheme (plus a small effect of the coverage expansion of the Social Security in mid 2002). Based on these figures, the impoverished households that were caused by health care burden decreased by two-thirds as a result of the coverage expansion toward universal coverage. The above finding is similar in all regions but are more pronounced in the rural areas. We also measure number of households that become impoverished because some member were hospitalized. We find, however, that number of this types of households are rather small—ranging from 1/7 to one fourths of those were impoverished because of health expense. This finding suggests that a comprehensive universal coverage scheme that also covers major outpatient expense would still be crucial if poverty reduction is considered a main objective of the universal health coverage program in Thailand. | en_US |
dc.identifier.callno | W160 ว711ผ 2548 | en_US |
dc.identifier.contactno | 46ค047 | en_US |
dc.subject.keyword | หลักประกันสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | ค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาล | en_US |
.custom.citation | วิโรจน์ ณ ระนอง, Viroj Na Ranong, อัญชนา ณ ระนอง, ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา, Anchana Na Ranong and Sasiwut Vongmontha. "ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและโครงการ 30 บาทฯ ที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน : รายงานวิจัยเล่มที่2." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1197">http://hdl.handle.net/11228/1197</a>. | |
.custom.total_download | 433 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 30 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |