Show simple item record

Consumer protection system in thai health insurance

dc.contributor.authorยุพดี ศิริสินสุขth_TH
dc.contributor.authorYupadee Sirisinsuken_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:17:53Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:50:11Z
dc.date.available2008-12-04T05:17:53Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:50:11Z
dc.date.issued2549en_US
dc.identifier.otherhs1193en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1198en_US
dc.description.abstractการพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคไม่เพียงแต่จะทำให้ประชาชนสามารถใช้บริการสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น กลับจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพบริการในทางอ้อมได้อีกด้วย ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมวลสถานการณ์การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพของไทย และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาระบบดังกล่าว โดยที่ระบบประกันสุขภาพที่ศึกษาประกอบด้วยระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า(30 บาทรักษาทุกโรค) ระบบประกันสังคม และระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ โดยมีกรอบการศึกษาเพื่อประเมินในเรื่องสิทธิของประชาชนใน 5 ด้านคือ สิทธิในการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็น สิทธิในการได้รับบริการที่มีคุณภาพ สิทธิในการได้รับบริการที่ครบถ้วนตามชุดสิทธิประโยชน์ สิทธิในการเข้าร่วมบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ และสิทธิในการรับรู้ข้อมูลที่จำเป็น วิธีการศึกษาประกอบด้วย การประชุมอภิปรายกลุ่มผู้เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมข้อมูลสถานการณ์และข้อเสนอเชิงนโยบาย การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติโดยใช้แบบสอบถาม การศึกษาเชิงเอกสารเพื่อประมวลข้อมูลที่จำเป็นสำหรับประชาชนในระบบประกันสุขภาพและได้มีการส่งผลการศึกษาเบื้องต้นไปยังผู้แทนภาคประชาชนในคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพประจำจังหวัดเพื่อให้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงรายงานฉบับสมบูรณ์ ในการศึกษาได้ผลที่สำคัญดังนี้ ยังพบว่ามีประชาชนที่ยังไม่สามารถเข้าถึงระบบประกันสุขภาพเนื่องจากไม่มีหลักฐานการแสดงสิทธิการเป็นคนไทย ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อคุณภาพบริการและยาค่อนข้างน้อยโดยเฉพาะเมื่อจำเป็นต้องได้รับบริการสุขภาพหรือยาที่มีราคาแพง ประชาชนกลุ่มเฉพาะได้แก่ ผู้พิการ ผู้ติดเชื้อHIV และผู้ป่วยเอดส์ และผู้ใช้แรงงานนอกระบบทางการไม่ได้รับบริการที่ครบถ้วนตามที่กำหนดในชุดสิทธิประโยชน์ระบบฐาน ข้อมูลที่จำเป็นสำหรับประชาชนยังไม่เพียงพอ และระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร จัดการระบบประกันสุขภาพอยู่ในระดับต่ำ ในการศึกษามีข้อสนอแนะเชิงนโยบายที่สำคัญได้แก่ 1. การเร่งตรวจสอบเพื่อหากลุ่มคนที่ยังเข้าไม่ถึงระบบประกันสุขภาพเนื่องจากขาดหลักฐานแสดงสิทธิโดยร่วมมือกับภาคประชาชนและองค์กรเอกชนในการค้นหากลุ่มคนดังกล่าว และในระหว่างนี้การให้บริการแก่คนเหล่านี้ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้จึงจำเป็นต้องมีการจัดสรรงบประมาณไปช่วยเหลือกลุ่มสถานพยาบาลเหล่านี้ 2. เร่งการประเมินและพัฒนาสถานพยาบาลในทุกระดับทั้งของรัฐและเอกชน 3. ประชาชนต้องเข้าร่วมในการบริหารจัดการในทุกระดับ ตั้งแต่การกำหนดนโยบาย การบริหารจัดการระบบโดยทำหน้าที่เป็นผู้ซื้อบริการระดับท้องถิ่น เข้าร่วมในคณะกรรมการบริหารสถานพยาบาล การเป็นผู้ให้บริการโดยเฉพาะบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพบริการ ความครบถ้วนของบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ การจัดการข้อร้องเรียน การเผยแพร่ข้อมูลที่จำเป็นให้กับประชาชนโดยเฉพาะในเขตพื้นที่ห่างไกล โดยรัฐสนับสนุนการรวมกลุ่มของประชาชนในชุมชนให้เป็นผู้ทำหน้าที่ดังกล่าว 4. ข้อมูลที่จำเป็นที่จะต้องเผยแพร่สู่ประชาชนได้แก่ ข้อมูลในการเลือกสถานพยาบาล ข้อมูลในการตัดสินใจรับบริการการแพทย์ และข้อมูลเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจในระบบประกันสุขภาพและการใช้บริการที่ถูกต้องth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent764818 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectConsumer Empowermenten_US
dc.subjectComsumer Product Safetyen_US
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพen_US
dc.subjectความปลอดภัยของผู้บริโภคen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพของไทยth_TH
dc.title.alternativeConsumer protection system in thai health insuranceen_US
dc.description.abstractalternativeConsumer protection in health insurance system intends not only to facilitate the benefiaciries to efficiently utilize their health benefits but also to indirectly expedite the quality of care. The study aimed to summarize the existing situations and make the policy recommendation to improve the consumer protection system in health insurance system in Thailand that comprises three main health insurance schemes including National Health Security, Social Security and Civil Servant Medical Benefit Scheme. The scope of consumer protection system in the study has covered on five issues of people’s rights as follows: the right to access to needed care through health insurance, the right to access to quality care, the right to access to complete benefit package, the right to participate in health insurance management and the right to access to necessary information. Focus group discussion, questionnaire survey and documental review were used for data collections. Focus group discussions were employed to collect the current situation of consumer protection in target groups as wll as to suggest policy recommendation. The people’s opinions toward health services quality under the National Health Security were collected by using questionnaire survey. The documental review was performed to gather the information needed for people to efficiently utilize health services in their health insurance schemes. Preliminary data was also sent to community representatives in Provincial Health Security Sub-committee to make comments before finalizing the report. The results show that there still have been several problems regarding the people’s rights such as the problems of uninsured groups due to no ID Card, low people’s confidence in quality of care and medications especially for high cost care and medications, the problems of specific groups of people who could not access to health benefit package such as the disability, patients living with HIV and AIDS and the informal sector workers, lack of or inadequate information database for general people, and low level of people participation in health insurance system. The crucial policy recommendations to strengthen the consumer protection system covered in the report are: 1) actively searching for uninsured groups by cooperating with civil groups or not for profit non-governmental organizations, and financial supporting to hospitals that are responsible for these uninsured; 2) accelerate the process of external accreditation in all levels of, and both public and private health facilities, 3) people have to participate in all levels including policy formulation, health insurance management by acting as local purchasers and hospital committee, service providers especially health promotion, monitoring service quality and the completeness of benefit package provided, managing complaint, and disseminating the essential information to people especially in the remote areas by getting financial support from the government to help people in communities to set up “Community Health Insurance Center”; 4) the essential information that needs to be widely distributed are composed of the information for selecting the hospital, the information for deciding whether or not to receive some controversial health services or second opinion and the information to increase basic knowledge about health insurance and health service utilization.en_US
dc.identifier.callnoWA288 ย384ก 2549en_US
dc.identifier.contactno48ค015en_US
dc.subject.keywordConsumer protectionen_US
dc.subject.keywordHealth Insuranceen_US
dc.subject.keywordระบบคุ้มครองผู้บริโภคen_US
dc.subject.keywordระบบประกันสุขภาพไทยen_US
.custom.citationยุพดี ศิริสินสุข and Yupadee Sirisinsuk. "การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพของไทย." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1198">http://hdl.handle.net/11228/1198</a>.
.custom.total_download162
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year4

Fulltext
Icon
Name: hs1193.pdf
Size: 890.3Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record