Show simple item record

Perception and Behaviors Thai People Toward Smoking in the Public Place

dc.contributor.authorเอมอร พุฒิพิสิฐเชฐen_US
dc.contributor.authorAim-orn Putipisitcheten_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:17:57Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:31:05Z
dc.date.available2008-12-04T05:17:57Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:31:05Z
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.otherhs0641en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1208en_US
dc.description.abstractการรับรู้และพฤติกรรมของคนไทยต่อการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ การศึกษาการรับรู้และพฤติกรรมของคนไทยต่อการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้การสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะของผู้บุหรี่และผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ รวมทั้งศึกษาพฤติกรรมของผู้สูบบุหรี่ในเรื่องการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ และพฤติกรรมของผู้ไม่สูบบุหรี่ในการพิทักษ์สิทธิ์ตนเองจากการได้รับควันบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นประชากรจำนวน 600 คน จำแนกเป็นผู้สูบบุหรี่ 300 คน และผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามที่ผู้ศึกษาจัดทำขึ้น วิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Spss ในการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) ที่ระดับ 0.01 ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ผู้สูบบุหรี่ร้อยละ 68.0 เป็นเพศชายส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31-40 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่ามากที่สุด และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างหรือบริการ ด้านสถานภาพสมรสพบว่ามีสถานภาพสมรสอยู่เป็นคู่ (ร้อยละ 47.0) โดยพบว่าส่วนใหญ่เป็นผู้ไม่มีโรคประจำตัวและดูแลสุขภาพตนเองในระดับปานกลางมากที่สุด ผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ ร้อยละ 50.3 เป็นเพศหญิง ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 18-30 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี และประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนมากที่สุด ด้านสถานภาพสมรสพบว่า ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสโสด (ร้อยละ 56.3) และกว่า 3 ใน 4 ของกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ไม่มีโรคประจำตัวและดูแลตนเองในระดับปานกลางมากที่สุด ในด้านการรับรู้ของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบบุหรี่ ส่วนใหญ่ในภาพรวมมีการรับรู้อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาการรับรู้ใน 3 ด้าน คือการรับรู้เรื่องอันตรายจากบุหรี่ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการรับรู้เรื่อง พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่7) พ.ศ.2540 และการรับรู้เรื่องสิทธิของผู้ไม่สูบบุหรี่พบว่าการรับรู้ทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยการรับรู้เรื่องสิทธิของผู้ไม่สูบบุหรี่ มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด ในด้านพฤติกรรมของผู้สูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ พบว่า ผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะดับบุหรี่ก่อนเข้าไปในเขตห้านสูบบุหรี่ รวมทั้งก่อนสูบบุหรี่จะมองดูว่ามีป้ายห้ามสูบุหรี่ในบริเวณนั้นหรือ ไม่ และมีความระมัดระวังไม่สูบบุหรี่ในสถานที่มีประชาชนอยู่จำนวนมาก เนื่องจากไม่ต้องการให้ควันบุหรี่รบกวนผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ ซึ่งสะท้อนว่า ผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่ให้ความเคารพในกฎหมาย (ร้อยละ14.3) ที่สูบบุหรี่ในเขตห้ามสูบบุหรี่ เนื่องในทางปฏิบัติจริง ส่วนหน่วยงานที่ทำงานด้านบุหรี่และสุขภาพควรมีการรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องอันตรายของบุหรี่ที่มีผลกระทบต่อผู้ไม่สูบบุหรี่ และเรื่องสิทธิของผู้ไม่สูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงความสำคัญและนำไปสู่การมีพฤติกรรมการพิทักษ์สิทธิ์ตนเองต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3183232 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectSmoking -- Thaien_US
dc.subjectThai -- Smokingen_US
dc.subjectไทย -- การสูบบุหรี่en_US
dc.titleการรับรู้และพฤติกรรมของคนไทยต่อการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ : รายงานการวิจัยen_US
dc.title.alternativePerception and Behaviors Thai People Toward Smoking in the Public Placeen_US
dc.description.abstractalternativePerception and behaviors Thai people toward smoking in public place This study researched the perceptions that Thai people have of smoking in public places and their behavior in relation to it, including smokers willingness to abide by laws restricting smoking and non-smokers in voicing their objections to smokers breaching these laws. The results were analyzed using SPSS to find percentages, means, the standard deviation, and Pearson's product moment correlation co-efficient was significant at 0.01. A sample group of 600 adults, 300 of which were smokers and 300 of which were non-smokers, were used in this study. Both smokers and non-smokers had a high level of knowledge about the dangers of smoking to one's health. The study found a high level of compliance to the ban on smoking in public places, noting that smokers look for non-smoking signs prior to smoking to ensure that they do not annoy people. Non-smokers displayed a low level of action in advocating their frustrations with smokers. The study found that the level of knowledge of both smokers and non-smokers directly correlated smokers: compliance with smoking bans and non-smokers avoidance of smoking or smokey areas.en_US
dc.identifier.callnoWM290 ก911อ 2542en_US
dc.subject.keywordการสูบบุหรี่en_US
dc.subject.keywordผู้สูบบุหรี่en_US
dc.subject.keywordผู้ไม่สูบบุหรี่en_US
.custom.citationเอมอร พุฒิพิสิฐเชฐ and Aim-orn Putipisitchet. "การรับรู้และพฤติกรรมของคนไทยต่อการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ : รายงานการวิจัย." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1208">http://hdl.handle.net/11228/1208</a>.
.custom.total_download680
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year9

Fulltext
Icon
Name: hs0641.PDF
Size: 3.140Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record