Show simple item record

The health impact assessment of highrises in Muang Chiang Mai

dc.contributor.authorพงศ์เทพ วิวรรธนะเดชth_TH
dc.contributor.authorPhongtape Wiwatanadateen_US
dc.contributor.authorวิลาวัณย์ เสนารัตน์th_TH
dc.contributor.authorชมนาด พจนามาตร์th_TH
dc.contributor.authorประศักดิ์ ถาวรยุติการต์th_TH
dc.contributor.authorทิพวรรณ ประภามณฑลth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:11Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:45Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:11Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:45Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.otherhs0978en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1243en_US
dc.description.abstractการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากอาคารสูงในเมืองเชียงใหม่ การวิจัยศึกษาใน 4 มิติคือ สุขภาพกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ ทั้งด้านบวกและลบ โดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ชนิดประเมินแบบเร็ว (Rapid Appraisal) และการสำรวจ (Survey) กิจกรรมประกอบด้วย การจัดเวที 2 ครั้ง ได้แก่ เวทีนักวิชาการและเวทีภาคประชาชน เพื่อร่วมแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะตัวชี้วัดในการประเมิน หลังจากได้แบบสอบถามแล้วได้ทำการประเมินในกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 2,744 คน ทั้งที่อยู่ในอาคาร รอบอาคารและประชาชนทั่วไป จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าการสร้างอาคารสูงที่ผ่านมาในเมืองเชียงใหม่ยังขาดการวางแผนและจัดการที่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางวิสัยทัศน์ของเมืองว่าควรจะมีการพัฒนาไปในทิศทางใด ส่วนใหญ่มักจะขึ้นกับนโยบายของผู้บริหารโดยขาดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเป็นผลให้การพัฒนาเมืองเชียงใหม่ไม่มีทิศทางที่แน่ชัด ผลการศึกษาในแต่ละมิติของสุขภาพพบว่าในด้านสุขภาพกายผู้ที่อยู่รอบอาคารและประชาชนทั่วไปมีปัญหาด้านสุขภาพต่างๆ สูงกว่าผู้ที่อยู่ในอาคาร แสดงให้เห็นว่าปัญหาสุขภาพกายเหล่านี้อาจจะมีสาเหตุทางอ้อมจากอาคารสูง เช่น ปรากฏการณ์โดมความร้อนในเขตเมืองซึ่งก่อให้เกิดสารมลพิษทางอากาศหลายชนิดที่เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ นอกจากนี้ภาวะความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจอาจเป็นผลมาจากความเครียดอันเนื่องจากปัญหาสุขภาพจิตและสังคม ในด้านการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณ พบว่า ผู้ที่อยู่รอบอาคารและประชาชนทั่วไปมีปัญหาด้านสุขภาพต่างๆ สูงกว่าผู้ที่อยู่ในอาคาร เช่นเดียวกัน การวิเคราะห์ผลกระทบแยกตามปัจจัยต่างๆ พบว่ากลุ่มที่มีอายุมากและอาศัยอยู่ในเมืองเชียงใหม่มานานมีแนวโน้มที่จะได้รับผลกระทบด้านสุขภาพมากกว่า ข้อเสนอแนะจากการวิจัยในครั้งนี้คือให้ระงับใบอนุญาตก่อสร้างอาคารสูงที่ยังไม่ได้ก่อสร้างทั้งหมดในเขตเทศบาลและ อบต.ข้างเคียงทบทวนความสูงของอาคารโดยใช้บริบทเฉพาะของเมืองเชียงใหม่ ไม่ใช่ใช้ พรบ. การก่อสร้างซึ่งครอบคลุมทั่วประเทศ (ในเชียงใหม่ไม่ควรเกิน 4 ชั้น) มีการพิจารณากำหนดควบคุมอาคารสูงมากขึ้น โดยมีพื้นที่ฉนวนโดยรอบอีกชั้นหนึ่ง พิจารณากำหนดพื้นที่ที่อนุญาตให้สร้างอาคารสูงได้ โดยอยู่ในบริเวณที่จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศโดมความร้อน และการอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์ มีการแก้ไขกฎกระทรวงบังคับใช้ผังเมืองรวม ให้การใช้ที่ดินในแต่ละเขตคำนึงถึงมิติความสูงและยกเลิกการใช้ระบบร้อยละของพื้นที่อย่างในปัจจุบันth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1927658 bytesen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth, Impact Assessmenten_US
dc.subjectHealth Impact Assessmenten_US
dc.subjectHealthy Public Policyen_US
dc.subjectChaing Maien_US
dc.subjectสุขภาพ, ผลกระทบen_US
dc.subjectการประเมินผลกระทบทางสุขภาพen_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากอาคารสูงในเมืองเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeThe health impact assessment of highrises in Muang Chiang Maien_US
dc.description.abstractalternativeThis research has been conducted in 4 dimensions of health namely, physical, mental, social and spiritual health in both positive and negative impacts. The research design was a participatory action research with rapid appraisal and survey. Activities included two workshops one for academics and the other one for stakeholders to discuss and advise indicators to be used in the assessment. After the questionnaire was constructed, a survey was conducted in 2,744 samples comprising in-building, around-building, and general residents.The literature reviews showed that building constructions in the past in Muang Chiang Mai were not well planned and managed, specifically lack of city vision to guide the direction of development. Most of the times, they depended on the administrators’ policies without people participation resulting in Muang Chiang Mai’s vague direction of development. The results show that the around-building and general residents had more physical health impacts than the in-building. This might be the indirect effects of highrises. i.e., the urban heat island phenomenon that causes more air pollutants deteriorating the respiratory system. The hypertension and cardiovascular diseases might be the results of anxiety due to mental and social health problems. The assessment of other dimensions of health also showed that the around-building and general residents had more health impacts than the in-building. The older and longer-living tended to have more health effects than the others.It is suggestive that:The highrise construction permissions for those non-constructed should be cancelled.The height of highrises should be revised in accordance with the context of Chiang Mai not that of the Act, which enforces nationwide.The highrise constructions should be controlled more stringent, and buffer zone should be re-considered.The areas that are allowed for highrise constructions should not those that can potentially be threatened to ecology, urban heat island and historic conservation.The Ministerial Laws enforcing the town planning should be amended that land uses in each zone should take the vertical dimension into account and the percentage scheme of land use should be cancelled.en_US
dc.identifier.callnoWA754 พ124ก 2545en_US
dc.identifier.contactno45ค067en_US
.custom.citationพงศ์เทพ วิวรรธนะเดช, Phongtape Wiwatanadate, วิลาวัณย์ เสนารัตน์, ชมนาด พจนามาตร์, ประศักดิ์ ถาวรยุติการต์ and ทิพวรรณ ประภามณฑล. "การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากอาคารสูงในเมืองเชียงใหม่." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1243">http://hdl.handle.net/11228/1243</a>.
.custom.total_download151
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0978.pdf
Size: 1.564Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record