แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547

dc.contributor.authorสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.contributor.authorHealth Systems Research Instituteen_US
dc.contributor.authorกระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์en_US
dc.contributor.editorเยาวรัตน์ ปรปักษ์ขามth_TH
dc.contributor.editorYaowarat Porapakamen_EN
dc.contributor.editorพรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์th_TH
dc.contributor.editorPornpan Bunayaratpanen_EN
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:17Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:40:47Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:17Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:40:47Z
dc.date.issued2549en_US
dc.identifier.otherhs1282en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1256en_US
dc.description.abstractการสํารวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546 – 2547 ได้ดําเนินการโดยสํานักงานการสํารวจสภาวะสุขภาพอนามัย (สกสอ.) ซึ่งจัดตั้งโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและสนับสนุนด้านงบประมาณการสํารวจจากสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข วัตถุประสงค์ที่สําคัญของการสํารวจครั้งนี้คือ เพื่อแสดงสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยในระดับประเทศ ภาคและเขตสาธารณสุข เป็นรายหมวดอายุและเขตการปกครอง และเพื่อแสดงความชุกของโรคที่สําคัญ ภาวะความเจ็บป่วย ภาวะพิการ ตลอดจนปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนไทย เพื่อจัดทําระบบข้อมูลสําหรับใช้ในการป้องกันและควบคุมโรค ประชากรกลุ่มเป้าหมายในการสํารวจครั้งนี้คือประชากรวัยแรงงานและวัยสูงอายุ โดยแบ่งประชากรเป้าหมายออกเป็น 4 กลุ่มย่อย คือ วัยแรงงานชาย หญิง อายุ 15 – 59 ปีและวัยสูงอายุชาย หญิง อายุ 60 ปีขึ้นไป การสํารวจได้ใช้แผนการสุ่มตัวอย่างเชิงความน่าจะเป็นแบบสามขั้นอย่างมีชั้นภูมิ (Three – stage Stratified probability Sampling) หน่วยประชากรขั้นแรกคือจังหวัด หน่วยประชากรขั้นสองคือหน่วยเลือกตั้งสําหรับพื้นที่ในเขตเทศบาล และหมู่บ้าน สําหรับพื้นที่นอกเขตเทศบาลและหน่วยประชากรขั้นสุดท้ายคือบุคคลตามนิยามประชากรเป้าหมายของการสํารวจ จํานวนบุคคลตัวอย่างที่ประมาณค่าไว้ในการสํารวจ คือ 42,120 คน และจํานวนตัวอย่างที่ได้จากการสํารวจคือ 39,290 คน การดําเนินการเก็บข้อมูลอยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่ 15 มกราคม – 15 เมษายน พ.ศ. 2547 โดยมีเครือข่ายดําเนินงานประกอบด้วยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรับผิดชอบเก็บข้อมูลในภาคกลาง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เก็บข้อมูลในกรุงเทพฯ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เก็บข้อมูลในภาคเหนือ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นรับผิดชอบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในภาคใต้ พร้อมทั้งประสานความร่วมมือกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลประจําจังหวัด ห้องปฏิบัติการในพื้นที่เพื่อการตรวจผลเลือดและจัดส่งซีรัมไปเก็บไว้ที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อการศึกษาในระยะต่อไป ข้อมูลสําคัญในการสํารวจครั้งนี้ประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคลทั่วไปโดยเฉพาะด้านสังคม เศรษฐกิจ ภาวะสุขภาพโดยรวม พฤติกรรมเสี่ยง เช่น อาหาร กิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โรคที่สําคัญโดยเฉพาะโรคเรื้อรัง อุบัติเหตุการบาดเจ็บ และการใช้ยา พฤติกรรมทางเพศ อนามัยเจริญพันธ์และผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) จะมีคําถามเกี่ยวกับ สถานะสุขภาพทางกาย จิต และสังคมที่แสดงถึงความเป็นอยู่ดีของผู้สูงอายุ ความสามารถในการดําเนินกิจวัตรประจําวัน ความสามารถในการบดเคี้ยว สภาพสมองปกติ มีหลักประกันของความมั่นในที่อยู่อาศัย รายได้ บริการสุขภาพและสวัดิการสังคมพื้นฐาน มีการดัดแปลงบ้านเพื่อให้เหมาะสมและป้องกันอุบัติเหตุอันเนื่องมาจากความสูงอายุ เช่น การหกล้ม สภาพการดํารงชีวิตอย่างอบอุ่นไม่เป็นภาระในครัวเรือน และที่สําคัญคือข้อมูลการตรวจร่างกายคือ น้ำหนักและส่วนสูง เส้นรอบเอว (เป็นเซนติเมตร) ความดันโลหิต ชีพจร นอกจากนี้การตรวจเลือดจะมีผลของ Hemoglobin และ Hematocrit, น้ำตาลในเลือด (Fasting Blood Sugar) โคเลสเตอรอล (Total cholesterol) และ CBCth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.description.sponsorshipสำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพen_US
dc.format.extent4553040 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Administrationen_US
dc.subjectHealth Surveysen_US
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขen_US
dc.subjectอนามัย, การสำรวจen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547th_TH
dc.title.alternativeThe report of Thailand population health examination survey IIIen_US
dc.identifier.callnoWA900.JT3 ก528 2549en_US
dc.identifier.contactno49ค004en_US
dc.subject.keywordHealth Examinationen_US
dc.subject.keywordThailand--Population--Surveysen_US
dc.subject.keywordสภาวะสุขภาพen_US
.custom.citationสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, Health Systems Research Institute and กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์. "การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1256">http://hdl.handle.net/11228/1256</a>.
.custom.total_download64
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1282.pdf
ขนาด: 4.124Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย