Show simple item record

Synthesizing Knowledge Underlying the Development of Position Paper on the Definitions of Levels in Health Service System in Thailand

dc.contributor.authorขนิษฐา นันทบุตรth_TH
dc.contributor.authorKanitta Nanthabootren_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:30Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:41:26Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:30Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:41:26Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.otherhs0999en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1281en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้เป็นการสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อพัฒนาข้อเสนอการจัดระดับบริการสุขภาพในระบบสุขภาพไทย โดยชี้ขอบเขตการบริการสุขภาพในแต่ละระดับภายใต้ระบบบริการสุขภาพใน 7 ประเทศ คือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงค์โปร์ มาเลเซีย และไทย และวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการแบ่งระดับบริการสุขภาพ และระบบสนับสนุนอื่นๆ ในโครงสร้างระบบสุขภาพ ใช้การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพ และการจัดระดับบริการสุขภาพ การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิด้านระบบสุขภาพและการจัดระบบบริการสุขภาพ การระดมสมองในกลุ่มนักวิจัย นักวิชาการ นักปฏิบัติ และผลจากเวทีสมัชชาสุขภาพในการร่างพ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติในประเด็นต่างๆ เพื่อนำมาสู่การจัดทำข้อเสนอการจัดแบ่งระดับบริการสุขภาพในประเทศไทย ดังนี้ 1. บทเรียนจากต่างประเทศชี้ประเด็นสำคัญ คือ 1) เงื่อนไขในการออกแบบระบบบริการสุขภาพ ได้แก่ ลักษณะประชากรและแบบแผนการเจ็บป่วย ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพโดยภาครัฐ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นส่วนที่เพิ่มขึ้นกับการใช้เทคโนโลยีด้านการรักษา และการเรียกร้องของประชาชนและสังคมเรื่องคุณภาพบริการและการเข้าถึงบริการ 2) แนวคิดในการกำหนดระดับบริการสุขภาพและขอบเขต ความครอบคลุม และความเชื่อมโยงของบริการสุขภาพระดับต่างๆ ประกอบด้วย แนวคิดเชิงวิชาการและวิชาชีพ โดยแบ่งระดับตามความซับซ้อน ความรุนแรง และความเป็นเฉพาะทาง และเชิงการบริหารจัดการ โดยแบ่งเป็นเรื่องของความเป็นเจ้าของและการสร้างเครือข่ายการบริการ 3) การประกันสุขภาพถือเป็นกลไกหลักในการสร้างให้ระบบบริการสุขภาพเป็นไปได้ตามเป้าหมาย บทบาทหน้าที่และขอบเขตการบริการ ความครอบคลุมของการบริการสุขภาพจะเป็นไปได้ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดในระบบประกันสุขภาพ ทั้งนี้ต้องให้สอดรับกับระบบย่อยอื่นๆ ด้วย เช่น ระบบการจัดการการเงิน การคลัง ระบบการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ และระบบการส่งเสริมสุขภาพ เป็นต้น 2. ข้อเสนอการจัดระดับบริการสุขภาพในระบบสุขภาพไทย เน้นที่การให้คำนิยามเพื่อการจัดแบ่งระดับบริการสุขภาพตามหลักการสำคัญ 2 ประการ ในเชิงวิชาการและวิชาชีพ และเชิงการบริหารจัดการ โดยในเชิงวิชาการและเชิงวิชาชีพ ใช้แนวคิด “high touch -high tech” เป็นตัวกำหนด ใช้องค์ความรู้ทางสังคม มานุษยวิทยาในการวิเคราะห์ตามแนว “high touch” และใช้องค์ความรู้ด้านการรักษา การแพทย์ เป็นหลักในแนว “high tech” ทำให้สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ การดูแลสุขภาพชุมชน และการบริการสุขภาพในสถานบริการ ซึ่งอาจมี 4 ระดับ คือ primary, secondary, tertiary and highly specialized ได้ โดยมีกลไกอื่นประกอบ เช่น ระบบประกันสุขภาพ ระบบประกันคุณภาพโรงพยาบาล ระบบการประเมินเทคโนโลยีการแพทย์และการรักษา ส่วนในเชิงการบริหารจัดการอยู่บนฐานคิดของความเป็นเจ้าของ และความสัมพันธ์ของส่วนปกครองและส่วนให้บริการ การบริหารจัดการในระดับการดูแลสุขภาพครอบครัวและชุมชน ให้เป็นหน้าที่ของครอบครัวและชุมชน องค์กรชุมชน ส่วนในระดับสถาบันหรือสถานบริการสุขภาพ การบริหารจัดการต้องเป็นสถานบริการและให้มีกองทุนหรือระบบประกันสุขภาพกำกับ ในแง่ความสัมพันธ์ของส่วนปกครองและส่วนให้บริการ ให้เน้นเชิงระนาบเดียวกัน มีความเท่ากัน เสมอกัน เป็นอิสระต่อกัน มีเงื่อนไขข้อตกลง ความสัมพันธ์ที่ชัดเจน โดยสรุปแล้วการบริการสุขภาพตามหลักการบริหารจัดการสามารถแบ่งระดับได้ 4 ระดับ คือ 1) สุขภาพบุคคลและครอบครัว 2) สุขภาพชุมชน 3) การบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ และ 4) การรักษาที่โรงพยาบาล 3. เสนอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐ และวิชาชีพด้านสุขภาพมีบทบาทหน้าที่ในการจัดการกับเงื่อนไขของการออกแบบระดับบริการสุขภาพ ทำให้การบริการสุขภาพระดับต่างๆ ตามเจตนารมณ์ของการแบ่งเป็นไปได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2252424 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Care Systemen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อพัฒนาข้อเสนอการจัดระดับบริการสุขภาพในระบบสุขภาพen_US
dc.title.alternativeSynthesizing Knowledge Underlying the Development of Position Paper on the Definitions of Levels in Health Service System in Thailanden_US
dc.description.abstractalternativeSynthesizing Knowledge Underlying the Development of Position Paper on the Definitions of Levels in Health Service System in ThailandThis research aims at synthesizing knowledge underlying the development of position paper on the definitions of levels in health service system in Thailand by exploring service systems in 7 countries including; South Korea, Japan, New Zealand, Malaysia, Singapore, Australia, and Thailand. The study identified scope and functions of each level in the system and analyzed factors that differentiated all levels of health services and other supportive systems. Documents analysis was conducted priori to interviews with experts in health system designs and forums of academics and researchers in health system. Reflections from National Forum on the National Health Act were analyzed. Results indicate the following. 1. Lessons learned from other countries indicate that 1)factors influencing health service system design included; population structure and illness pattern, health care expenditures, social demands on quality health services; 2) two concepts defining levels, scopes, functions, and levels referrals were technical and professional explanation through levels of sophistication of treatment, severity of illness, and specialization of care; and management concept of ownership and networking, and 3)health insurance played a major role in making the health service system able to be implemented as planned. Roles and scopes of the health services at each level would be functioning well upon the regulations stated in the health insurance system and others related such as financial, health manpower development, and health promotion systems. 2. Concepts explaining scopes of care in the health service system of Thailand must be based on technical and professional and management reasons. “High Touch-High Tech” is the principle of the technical and professional concept of which “High Touch” be used when social and humanistic knowledge are vital and “High Tech” be used when medical treatment and cure are central to the services. Health services could be differentiated into two types; community care and institutionalized care. The institutionalized care could be ranged in four levels, which are; primary, secondary, tertiary, and specialized care. Supportive mechanism must be designed accordingly especially health insurance system, hospital accreditation system, and technology appraisal system. Through management concept, the emphasis is on ownership and networking, which community care could be governed by the local authorities and the community. While the institutionalized care should be governed by own board and controlled by the health insurance system. Networking relationships among authorities and service units must be equal on contractual basis of which benefits could be shared. Health services on this management basis include 1)individual and family care, 2)community care, 3)primary care and 4)hospital treatment. 3. It is suggested that the involving parties including the local authorities, the government, and the health professions play vital roles in managing all factors influencing the design of health services system.en_US
dc.identifier.callnoW84.6 ข226ก 2546en_US
dc.identifier.contactno45ค049en_US
dc.subject.keywordHealth Servicesen_US
dc.subject.keywordบริการสุขภาพen_US
dc.subject.keywordระดับบริการสุขภาพen_US
.custom.citationขนิษฐา นันทบุตร and Kanitta Nanthabootr. "การสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อพัฒนาข้อเสนอการจัดระดับบริการสุขภาพในระบบสุขภาพ." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1281">http://hdl.handle.net/11228/1281</a>.
.custom.total_download226
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs0999.pdf
Size: 1.119Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record