แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาระบบควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค์

dc.contributor.authorประภาศรี ศุษิลวรณ์en_US
dc.contributor.authorPrapasri Susilvonen_US
dc.contributor.authorธีรพล เจนวิทยาen_US
dc.contributor.authorบุญเยี่ยม พิมพ์ทองen_US
dc.contributor.authorวิมลวรรณ พลบุรีen_US
dc.contributor.authorศิริรัตน์ เชาวรัตน์en_US
dc.contributor.authorDhirapol Chenvidhyaen_US
dc.contributor.authorBoonyium Pimthongen_US
dc.contributor.authorWimonwan Phonbureeen_US
dc.contributor.authorSirirat Choawaraten_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:33Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:39:58Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:33Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:39:58Z
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.otherhs0790en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1287en_US
dc.description.abstractการพัฒนาระบบควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พัฒนาโปรแกรมการเฝ้าระวังและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล 2) ทดลองใช้โปรแกรมในทุกหอผู้ป่วย 3) ประเมินปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาขณะดำเนินการและ 4) ประเมินความคงอยู่ของระบบและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รูปแบบการศึกษา: การวิจัยและพัฒนา สถานที่ทำการศึกษา: โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี วิธีดำเนินการ: การพัฒนาโปรแกรมการเฝ้าระวังและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์สถานการณ์การควบคุมและป้องกันโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 2) จัดตั้งองค์กร : งานวิชาการโรคติดเชื้อ 3) อบรมฟื้นฟูความรู้แก่พยาบาลทุกระดับ 4) จัดหลักสูตรอบรมสำหรับ ICN และ ICWN 5) พัฒนาแบบฟอร์มการเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล เกณฑ์การวินิจฉัยและการสอบสวนโรค 6) จัดทำแนวทางการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ในหอผู้ป่วยทั้ง 33 แห่ง และมีการประเมินผลเป็นระยะ 7) การประเมินผลโปรแกรมการเฝ้าระวังจากคุณภาพข้อมูลและประสิทธิภาพและความคงอยู่ของระบบ ผลการศึกษา: ทุกหอผู้ป่วยมีระบบการเฝ้าระวังและการรายงานผลการติดเชื้อที่เป็นปัจจุบัน โดยมีงานวิชาการโรคติดเชื้อเป็นผู้ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล ทำให้ทราบสถานการณ์และแนวโน้มการติดเชื้อที่เกิดขึ้น สามารถแก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึ่ง ปัญหาที่พบขณะดำเนินการ ได้แก่ บุคลากรขาดความมั่นใจในการวินิจฉัยการติดเชื้อในโรงพยาบาล ความร่วมมือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง และระยะเวลาในการเก็บข้อมูลไม่เป็นตามที่กำหนดไว้ เนื่องจากรอผลการเพาะเชื้อ ได้แก้ไขโดยจัดอบรมเพิ่มเติมเรื่องการวินิจฉัยการติดเชื้อแก่ ICWN, จัดประชุมร่วมระหว่างแพทย์ด้านโรคติดเชื้อและพยาบาล และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้อาการทางคลินิกเป็นเกณฑ์ตัดสินการติดเชื้อ ด้านคุณภาพของข้อมูล พบว่า มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ ความครบถ้วน ร้อยละ 99 ความถูกต้อง ร้อยละ 98 ความเป็นปัจจุบัน (ไม่เกินวันที่ 3) ร้อยละ 53 และประสิทธิภาพของระบบดีขึ้น ผู้บริหารทุกระดับให้ความสนใจและนำข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2746383 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectNosocomial Infectionsen_US
dc.subjectCommunicable Disease--Prevention and Controlen_US
dc.subjectโรคติดต่อ--การป้องกันและควบคุมen_US
dc.subjectโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลen_US
dc.titleการพัฒนาระบบควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค์en_US
dc.title.alternativeInfection control development in Sappasitthiprasong hospitalen_US
dc.description.abstractalternativeInfection control development in Sappasitthiprasong HospitalObjective : 1) To develop an appropiate surveillance and infection control system for Sappasitthiprasong Hospital 2) To implement the developed surveillance and infection control system in every inpatient ward 3) To determine the problems and constrained in running the developed system and the method used for solving the problems 4) To determine the sustainability of the system and associated factors.Design : Research and development.Setting : Sappasitthiprasong Hospital, UbonratchathaniMethadology : The activities performed in order to improve the developed surveillance and infection control system are as follow : 1) The situation analysis of infection control 2) The re-structure the organization and the line of command of infection control unit. 3) To educate the hospital personnel. 4) Training courses for ICN and ICWN 5) To develop new surveillance data record forms, to establish criteria for diagnosis of hospital acquired infection, guideline for hospital infection control and outbreak investigation. 6) The guidelines for hospital acquired infection surveillance, were created and implemented, in 33 inpatient wards. Periodic monitoring was done. 7) To evaluatie of surveillance system, effectiveness of infection control and the sustainability of the whole system.Result : The surveillance system and present report of infection rate in every inpatient ward were set up. The surveillance data were analyzed and audited by the infection control division. During the implementation period the infection problems ,such as the personnels’ confidence, the doctors’ cooperation and duration of culture and sensitivity report, were found. These problems were solved by conference and seminars. The topic established criteria for diagnosis of hospital acquired infection, among infection control working groups. All quantitative data such as completeness, accuracy and timeliness, were 99, 98 and 53 % respectively. The effectiveness of surveillance system was improved. The administrator team’s committee was interested and used surveillance data for solving the infection control problems.Conclusion To develop an appropriate surveillance and control system , that will predict trends of hospital acquired infection. Hospital personnel piad attention and used the data to solve the infection problems. Finally, the factors that affected the sustainability of the system were characteristics of the hospital personnels’ : concern , stimulation and participation in surveillance and control systems.en_US
dc.identifier.callnoWT500 ป344ก 2542en_US
dc.subject.keywordSappasitthiprasong Hospitalen_US
dc.subject.keywordInfectionen_US
dc.subject.keywordโรคติดเชื้อen_US
dc.subject.keywordระบบควบคุมโรคen_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์en_US
.custom.citationประภาศรี ศุษิลวรณ์, Prapasri Susilvon, ธีรพล เจนวิทยา, บุญเยี่ยม พิมพ์ทอง, วิมลวรรณ พลบุรี, ศิริรัตน์ เชาวรัตน์, Dhirapol Chenvidhya, Boonyium Pimthong, Wimonwan Phonburee and Sirirat Choawarat. "การพัฒนาระบบควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลสรรพสิทธิ์ประสงค์." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1287">http://hdl.handle.net/11228/1287</a>.
.custom.total_download299
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month3
.custom.downloaded_this_year31
.custom.downloaded_fiscal_year7

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0790.pdf
ขนาด: 1.194Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย