แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ระบบจำแนกตำแหน่งกับการบริหารงานบุคคล กระทรวงสาธารณสุข : ข้อดี ข้อเสีย และทางเลือกเชิงนโยบาย

dc.contributor.authorจินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์en_US
dc.contributor.authorChindalak Vadhanasindhuen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:34Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:41:08Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:34Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:41:08Z
dc.date.issued2537en_US
dc.identifier.otherhs0155en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1290en_US
dc.description.abstractระบบจำแนกตำแหน่งกับการบริหารงานบุคคล กระทรวงสาธารณสุข: ข้อดี ข้อเสีย และทางเลือก เชิงนโยบายการวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย ของระบบจำแนกตำแหน่ง ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ตามกรอบแนวคิดที่บัญญัติไว้ ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2518 และพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ผู้ศึกษาวิจัยได้เสนอทางเลือกนโยบายระบบจำแนกตำแหน่งกับการบริการงานบุคคล กระทรวงสาธารณสุขไว้ 5 ทางเลือก คือ ทางเลือกที่ 1 การแยกข้าราชการสาธารณสุขออกจากข้าราชการพลเรือน ทางเลือกนี้ในทางปฏิบัติอาจเป็นไปได้ยาก แต่ถ้าสามารถกระทำได้สำเร็จจะแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีอยู่ได้มาก ซึ่งจะต้องพิจารณาปัญหาต่างๆ อย่างครอบคลุมทั้งระบบ ทางเลือกที่ 2 การจำแนกตำแหน่งใหม่ ทางเลือกนี้มีความเป็นไปได้มากกว่าทางเลือกที่ 1 เหตุผลสนับสนุนทางเลือกนี้ก็คือ ระบบจำแนกตำแหน่งที่ใช้อยู่ในปัจจุบันใช้มาเกือบ 20 ปีแล้ว โครงสร้างตลอดจนลักษณะงานต่างๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปมาก จึงน่าที่จะทำการศึกษาวิเคราะห์การจำแนกตำแหน่งใหม่ เพื่อให้เกิดความถูกต้องทันสมัย แต่ทางเลือกนี้จะต้องใช้ทรัพยากรมาก เพราะต้องแก้ไขทั้งระบบและต้องแก้กฎหมายที่เป็นแม่บทในการจำแนกตำแหน่ง ทางเลือกที่ 3 การปรับระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น ทางเลือกนี้มีความเป็นไปได้ ในทางปฏิบัติมากกว่าสองทางเลือกแรก เพราะไม่ต้องมีการแก้ไขกฎหมายในการปฏิบัติ ข้อที่ควรให้ความสนใจก็คือ การปรับระดับตำแหน่งให้สูงขึ้นควรพิจารณาด้วยความเป็นธรรม มีความครอบคลุมตำแหน่งต่างๆ เป็นส่วนใหญ่ ไม่ควรเน้นการปรับระดับเฉพาะบางตำแหน่งเท่านั้น ทางเลือกที่ 4 การแยกสายงานบริหารกับสายงานวิชาการ (วิชาชีพ) ออกจากกันให้ชัดเจน โดยหลักการแล้วการจำแนกตำแหน่งมีการแยกสายงานกันชัดเจน แต่ในทางปฏิบัติไม่สามารถแยกจากกันได้อย่างเคร่งครัด ทำให้เกิดปัญหาอยู่เสมอ จึงควรหาทางแก้ไขโดยกำหนดเงื่อนไขหรือหลักเกณฑ์ที่แน่นอนเกี่ยวกับการจำแนกสายงาน การเปลี่ยนสายงานหรือข้ามสายงานจะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขหรือหลักเกณฑ์ที่กำหนด ทางเลือกที่ 5 การปรับให้ได้รับเงินเดือนในอันดับสูงขึ้น ทางเลือกนี้จะช่วยแก้ปัญหาข้าราชการที่เงินเดือนตันเพราะไม่สามารถปรับระดับตำแหน่งให้สูงขึ้นได้ และสามารถปฏิบัติได้เพราะมีกฎเกณฑ์กำหนดให้ทำได้อยู่แล้ว ทั้งจะช่วยสร้างขวัญกำลังใจให้ข้าราชการได้บ้าง เพราะช่วยให้ข้าราชการที่ไม่ได้เลื่อนระดับตำแหน่งได้เลื่อนอันดับเงินเดือนen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3278169 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectOrganization and Administration -- Personnel Managementen_US
dc.subjectPersonnel Administration, Hospitalen_US
dc.subjectHealth Personnel -- Personnel, Hospitalen_US
dc.subjectการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพen_US
dc.titleระบบจำแนกตำแหน่งกับการบริหารงานบุคคล กระทรวงสาธารณสุข : ข้อดี ข้อเสีย และทางเลือกเชิงนโยบายth_TH
dc.title.alternative[Public Health Personnel Management : Pros and Cons and Alternatives to Policy]en_US
dc.identifier.callnoWA 100 จ63 2537en_US
dc.subject.keywordข้าราชการพลเรือนen_US
dc.subject.keywordการจำแนกตำแหน่งen_US
dc.subject.keywordบุคลากรโรงพยาบาลen_US
.custom.citationจินดาลักษณ์ วัฒนสินธุ์ and Chindalak Vadhanasindhu. "ระบบจำแนกตำแหน่งกับการบริหารงานบุคคล กระทรวงสาธารณสุข : ข้อดี ข้อเสีย และทางเลือกเชิงนโยบาย." 2537. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1290">http://hdl.handle.net/11228/1290</a>.
.custom.total_download81
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0155.PDF
ขนาด: 3.130Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย