แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพในงานสาธารณสุข

dc.contributor.authorสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพth_TH
dc.contributor.authorSociety and Health Instituteen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:36Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:42:29Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:36Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:42:29Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1239en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1294en_US
dc.descriptionth_TH
dc.description.abstractรายงานนี้เป็นผลลัพธ์ของกระบวนการพัฒนาคู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพสำหรับบุคลากรทางด้านสุขภาพ การจัดทำคู่มือดังกล่าวใช้การมีส่วนร่วมในกระบวนการการพัฒนาคู่มือร่วมกันระหว่างนักวิจัยและบุคลากรทางการแพทย์ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักที่จะใช้ประโยชน์จากคู่มือดังกล่าว โดยเริ่มจากการยกร่างโครงร่างคู่มือโดยนักวิจัยของสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพและมีการทดสอบผ่านการทดลองใช้ในการประชุมฝึกอบรมปฏิบัติการสำหรับกลุ่มของบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ร่วมในการประชุมปฏิบัติการเป็นผู้สะท้อนความคิดเห็นและให้คำแนะนำตลอดจนร่วมปรับแก้คู่มือดังกล่าว และยังจะต้องมีการนำไปทดสอบใช้ในกระบวนการฝึกอบรมในอนาคต อีกหนึ่งขั้นตอนก่อนที่ร่างสุดท้ายของคู่มือจะสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ รายงานฉบับนี้จึงอยู่ในระยะของการพัฒนาและยังจำเป็นต้องมีการปรับปรุงให้เหมาะสมสำหรับการใช้งานและการเผยแพร่ต่อไปในอนาคต เป้าหมายของเอกสารนี้ต้องการที่จะให้เป็นคู่มือเบื้องต้นสำหรับการเรียนรู้การทำวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยและเป็นแบบฝึกหัดสำหรับการพัฒนาทักษะการวิจัยที่จำเป็นสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ คู่มือดังกล่าวถูกแบ่งออกเป็น 4 บทด้วยกัน โดยบทแรกจะเป็นการนำเสนอแนวคิดและหลักการด้านการวิจัยเพื่อให้เข้าใจถึงรูปแบบการวิจัยต่างๆ และการสร้างความรู้ผ่านกระบวนการวิจัยซึ่งมีอยู่หลากหลายวิธีการ โดยในบทนี้จะมีการอธิบายถึงหลักการพื้นฐานและความแตกต่างระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพด้วย ในบทที่สอง อธิบายถึงการเชื่อมโยงปัญหาการปฏิบัติงานที่มีอยู่ในชีวิตประจำวันของบุคลากรทางการแพทย์ให้สามารถนำไปเชื่อมโยงไปสู่งานวิจัยเพื่อใช้สำหรับการแก้ปัญหาที่พบได้ ส่วนบทที่สามอภิปรายถึงระเบียบวิธีการวิจัยต่างๆ ของงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเริ่มจากกระบวนการสร้างคำถามวิจัย ระเบียบวิธีในการเก็บข้อมูลรวมทั้งตัวอย่างประกอบต่างๆ โดยในบทนี้ได้รวมเอาเครื่องมือการวิจัยและแบบฝึกหัดสำหรับการฝึกฝนการวิจัยเข้าไว้ด้วย ในบทสุดท้ายเป็นเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลและการตีความผลลัพธ์การวิจัย เทคนิคสำหรับการเขียนการวิจัย การนำเสนอผลการวิจัย และการใช้ประโยชน์จากผลลัพธ์ของการวิจัยเชิงคุณภาพ ส่วนท้ายของรายงานได้รวบรวมเอาบรรณานุกรมและหนังสือสำคัญๆ ที่จะเป็นประโยชน์สำหรับค้นคว้าต่อไป สำหรับในภาคผนวกนั้นมีการนำเอาเทคนิคการเขียนโครงร่างการวิจัยเพื่อให้สามารถเขียนโครงร่างที่สมบูรณ์เข้าไว้ในภาคผนวกด้วยth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.description.sponsorshipสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์en_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Administrationen_US
dc.subjectResearch--handbooksen_US
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขen_US
dc.subjectสาธารณสุข--วิจัย--คู่มือen_US
dc.subjectระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System)th_TH
dc.titleคู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพในงานสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeManual on qualitative research for health professionalsen_US
dc.description.abstractalternativeThe report is a result of an ongoing process of developing manual on qualitative research for health professionals. The process of drafting the manual was a participatory developmental process involving researchers as well as health professionals which are targeted as the end users of the manual. Beginning with a manuscript developed by a group of researchers at the Society and Health Institute, the draft manuscript was used as a manual for an experimental training workshop for a group of health professionals. Participants of the workshop were asked to reflect and suggest ways to improve the manual. Suggestions were used to rewrite the manual and it will be tested by further trainings before final version could be made available. The current report is therefore in its initial stage and needs further refinement. The purpose of this manuscript is to serve as an introductory manual for qualitative research. It aims at providing health personnel with basic understanding of research work and exercise for increasing necessary research skill. The manuscript is divided into four chapters. The first chapter provides philosophical foundation for understanding how knowledge is created in different modes of research work. It also explains the fundamental principles and the differences between qualitative and quantitative research. The second chapter discusses how to relate problems in everyday working situation of health workers to research work. The third chapter discusses the methodological aspects of qualitative research, starting with how research questions are formulated. Methods for data collection are extensively elaborated with examples. Research tools and exercises are also included. The final chapter discusses how qualitative data is analyzed and interpreted. Techniques on report writing, presentation and how to make use of qualitative research results are also incorporated in this chapter. Useful bibliographies on research design and methodology are provided for further study. Techniques on proposal development and how to write a good research proposal are also provided in the annex.en_EN
dc.identifier.callnoQ180 ส691ค 2547en_US
dc.identifier.contactno47ข003en_US
dc.subject.keywordQualitative Researchen_US
dc.subject.keywordการวิจัยเชิงคุณภาพen_US
.custom.citationสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ and Society and Health Institute. "คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพในงานสาธารณสุข." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1294">http://hdl.handle.net/11228/1294</a>.
.custom.total_download601
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year61
.custom.downloaded_fiscal_year7

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1239.pdf
ขนาด: 1.477Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย