Browsing สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก) by Issue Date
Now showing items 1-20 of 26
-
การประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างสมดุลระหว่างนโยบายสาธารณะด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ากับนโยบายศูนย์กลางบริการสุขภาพ
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551)การเคลื่อนไหวในสังคมไทยในการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาปรากฏเด่นชัดมากที่สุดในพื้นที่ของการพัฒนาชนบทและการขจัดปัญหาความยากจน อย่างไรก็ตามความสนใจแสวงหาแนวทางในการประ ... -
แนวคิด กระบวนการพัฒนา สัมฤทธิ์ผลและผลกระทบนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทช่วยคนไทยห่างไกลโรค)
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551)เอกสารนี้มีวัตถุประสงค์ในการทบทวนกระบวนการเกิดของนโยบายโครงสร้างและระบบการจัดการ และให้บริการสัมฤทธิ์ผลของโครงการและผลกระทบตลอดจนมาตรการรองรับที่มีและประสิทธิผลในการแก้ปัญหาของมาตรการนั้นๆ โดยอาศัยกรอบแนวคิดเศรษฐกิจพอเพี ... -
แนวคิด ความสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบนโยบายประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ของภูมิภาค
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551)นโยบาย Medical Hub of Asia ของรัฐบาลเพื่อสร้างระบบการบริการสุขภาพไทยให้เป็นที่ต้องการของชาวต่างชาติ ให้ชาวต่างชาติเข้ามารับบริการทางการแพทย์หรือการดูแลสุขภาพ นํามาซึ่งรายได้เข้าประเทศโดยเฉพาะการบริการทางการแพทย์ได้ตั้งเป ... -
การขยายวงของปัญหาการก่อการร้ายภายในประเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความไม่แน่นอนต่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงหรือความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพหรือการบริหารจัดการระบบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ (Quality) และได้มาตรฐาน หรือเพื่อประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน โดยมีเป้าหมายเพื่อควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย (Cost containment) ของระบบบริการสุขภาพ
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-05) -
ความไม่แน่นอนจากผลกระทบของภัยธรรมชาติที่รุนแรงต่อโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการแพทย์กับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อความครอบคลุมกว้างขวางตั้งแต่ความเจ็บป่วยเล็กน้อย (First-Baht Primary Care) หรือความครอบคลุมเฉพาะความเจ็บป่วยที่มีค่าใช้จ่ายสูง (Catastrophic Tertiary Care)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
สิทธิประโยชน์ภาคบังคับที่เท่าเทียม (Compulsory Equitable Benefit) หรือสิทธิประโยชน์ที่ให้ทางเลือกผู้บริโภคและเก็บส่วนร่วมจ่าย (Consumer Choice with Cost Sharing)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความไม่แน่นอนอันเนื่องจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญต่อแนวโน้มในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความต้องการและความคาดหวังของประชาชนผู้รับบริการที่ไม่สมดุลกับศักยภาพของระบบบริการ ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับผู้ให้บริการและทำให้ปัญหาการร้องเรียนผ่านกลไกต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องขยายตัวขึ้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
นโยบายการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและพรบ.สุขภาพแห่งชาติกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ปัจจัยผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจากสถานการณ์และการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
การเปลี่ยนแปลงของระบบอภิบาลและการบริหารหลักประกันสุขภาพภาครัฐโดยให้ภาคเอกชนเข้ามาดำเนินการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
งบประมาณของรัฐเพื่อหลักประกันสุขภาพที่อาจถูกควบคุมเข้มงวดมากขึ้นไม่เพียงพอต่อความต้องการในระบบตามกรอบสิทธิประโยชน์ที่กำหนดและระดับของคุณภาพที่คาดหวัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามุ่งเน้นสิทธิเพื่อประกันโอกาสในการเข้าถึงบริการที่เป็นธรรม (Equitable access) หรือมุ่งการสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ (Helping the poor)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าส่งเสริมการแข่งขันในระบบตลาด(Competitive market) หรือระบบการบริการภายใต้การจัดการภาครัฐเพื่อสังคม (Managed or socialized system)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
การเกิดเหตุการณ์ Pandemic ของโรคติดต่อที่มีความสำคัญอย่างต่อเนื่องและซ้ำซากจนเป็นภาระแก่ระบบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความท้าทายที่เป็นปัจจัยผลักดันด้านทรัพยากรบุคคลในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)