สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก): ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 1-20 จาก 26
-
ถอดบทเรียนการดำเนินมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาในโรงพยาบาลนำร่อง 3 แห่ง : โรงพยาบาลลำปาง โรงพยาบาลตำรวจ และโรงพยาบาลศิริราช
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-07)เพื่อค้นหาจุดเด่นของการดำเนินการมาตรการภายใน ผู้มีบทบาทสำคัญ ปัจจัยความสำเร็จ ผลสำเร็จ และปัญหาอุปสรรคพร้อมข้อเสนอแนะ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่ม พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมจากเอกสารต่างๆ เรียบเรียงให้เข้ ... -
การศึกษาแนวทางการพัฒนาภารกิจกระทรวงสาธารณสุขสู่บทบาทผู้กำหนดนโยบายและกำกับทิศทางระบบการคลังสุขภาพของประเทศ
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)ระบบบริการสาธารณสุขของประเทศมีการเปลี่ยนแปลงและได้รับการพัฒนามากขึ้นอย่างรวดเร็วหลังจากประเทศไทยมีการจัดระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นมา ส่งผลทำให้ประชาชนไทยส่วนใหญ่มีความพึงพอใจด้านการเข้าถึงบร ... -
ความคุ้มค่าของการผ่าตัดต้อกระจกโดยใส่เลนส์แก้วตาเทียมชนิดนิ่มเปรียบเทียบกับชนิดแข็งในบริบทของประเทศไทย
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเข้าถึงการผ่าตัดต้อกระจกและปัจจัยที่มีผลต่อการผ่าตัดต้อกระจกในผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการข้าราชการและสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) ข้อมูลผู้ป่วยในที่มีสิทธิสวัสดิ ... -
การศึกษามาตรการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผลในโรงพยาบาลในประเทศไทย
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP)สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2552-09)การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่สมเหตุสมผล นอกจากจะทำให้เกิดการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นแล้ว ยังก่อให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาได้อีกด้วยในหลายประเทศ รวมทั้งในประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ มาตรการส่งเสริ ... -
ความคุ้มค่าและผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายของการผ่าตัดผ่านกล้องในระบบประกันสุขภาพสำหรับประเทศไทย
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP)สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-09)การผ่าตัดผ่านกล้องเป็นการผ่าตัดโดยใช้กล้องใส่เข้าไปตรวจภายในช่องท้องเพื่อการรักษาหรือตรวจวินิจฉัย เมื่อเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง ผู้ป่วยที่ผ่าตัดผ่านกล้องจะมีแผลผ่าตัดที่มีขนาดเล็กกว่า ทำให้สูญเสียเลือดน้อยกว่า ... -
แนวคิด กระบวนการพัฒนา สัมฤทธิ์ผลและผลกระทบนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทช่วยคนไทยห่างไกลโรค)
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551)เอกสารนี้มีวัตถุประสงค์ในการทบทวนกระบวนการเกิดของนโยบายโครงสร้างและระบบการจัดการ และให้บริการสัมฤทธิ์ผลของโครงการและผลกระทบตลอดจนมาตรการรองรับที่มีและประสิทธิผลในการแก้ปัญหาของมาตรการนั้นๆ โดยอาศัยกรอบแนวคิดเศรษฐกิจพอเพี ... -
การประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างสมดุลระหว่างนโยบายสาธารณะด้านหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ากับนโยบายศูนย์กลางบริการสุขภาพ
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551)การเคลื่อนไหวในสังคมไทยในการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาปรากฏเด่นชัดมากที่สุดในพื้นที่ของการพัฒนาชนบทและการขจัดปัญหาความยากจน อย่างไรก็ตามความสนใจแสวงหาแนวทางในการประ ... -
แนวคิด ความสัมฤทธิ์ผล และผลกระทบนโยบายประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ของภูมิภาค
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551)นโยบาย Medical Hub of Asia ของรัฐบาลเพื่อสร้างระบบการบริการสุขภาพไทยให้เป็นที่ต้องการของชาวต่างชาติ ให้ชาวต่างชาติเข้ามารับบริการทางการแพทย์หรือการดูแลสุขภาพ นํามาซึ่งรายได้เข้าประเทศโดยเฉพาะการบริการทางการแพทย์ได้ตั้งเป ... -
ความไม่แน่นอนต่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงหรือความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพหรือการบริหารจัดการระบบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
การขยายวงของปัญหาการก่อการร้ายภายในประเทศ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความไม่แน่นอนจากผลกระทบของภัยธรรมชาติที่รุนแรงต่อโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความไม่แน่นอนอันเนื่องจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญต่อแนวโน้มในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
การเกิดเหตุการณ์ Pandemic ของโรคติดต่อที่มีความสำคัญอย่างต่อเนื่องและซ้ำซากจนเป็นภาระแก่ระบบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
การเปลี่ยนแปลงของระบบอภิบาลและการบริหารหลักประกันสุขภาพภาครัฐโดยให้ภาคเอกชนเข้ามาดำเนินการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ปัจจัยผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจากสถานการณ์และการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
โรงพยาบาลต่างๆ ให้ความสำคัญกับระบบการบริหารจัดการ และปรับตัวเพื่อประสิทธิภาพขององค์กร รองรับการแข่งขันและเพื่อความอยู่รอดทางการเงินมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นองค์การมหาชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการแพทย์กับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความต้องการและความคาดหวังของประชาชนผู้รับบริการที่ไม่สมดุลกับศักยภาพของระบบบริการ ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับผู้ให้บริการและทำให้ปัญหาการร้องเรียนผ่านกลไกต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องขยายตัวขึ้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
นโยบายการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและพรบ.สุขภาพแห่งชาติกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความท้าทายที่เป็นปัจจัยผลักดันด้านทรัพยากรบุคคลในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)