Show simple item record

[Health Economic Financing]

dc.contributor.authorสุชาดา ตั้งทางธรรมen_US
dc.contributor.authorSuchada Tangtangthamen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:18:44Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:45:28Z
dc.date.available2008-12-04T05:18:44Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:45:28Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0150en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1312en_US
dc.description.abstractเศรษฐศาสตร์การคลังเพื่อสุขภาพกระทรวงสาธารณสุขได้รับจัดสรรงบประมาณในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1-3 เฉลี่ยประมาณร้อยละ 3-3.5 ของงบประมาณทั้งหมดของประเทศซึ่งค่อนข้างน้อยจนกระทั่งช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 กระทรวงสาธารณสุขได้รับงบประมาณเพิ่มสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 6.16 แผนพัฒนาการ สาธารณสุขฉบับปัจจุบันระบุว่า มีปัญหาการกระจายทรัพยากรให้แก่งานด้านการรักษาพยาบาลมากกว่าด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟูสภาพ การกระจายทรัพยากรเป็นไปอย่างไม่เท่าเทียมกันระหว่างเมืองและชนบท มีการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลืองโดยเฉพาะเครื่องมือแพทย์ที่มีราคาแพง การใช้ยาบางประเภทที่ไม่จำเป็น ตลอดจนการมีระบบประกันสุขภาพบางประเภทที่ไม่มีการควบคุมค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพโดยรวมของสังคมสูงขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีหลักประกันในเรื่องบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานและบริการทางการแพทย์ที่จำเป็นและระบบสาธารณสุขสามารถพึ่งตนเองทางการเงินได้ รัฐบาลควรพยายามหารายได้เพิ่มขึ้นจากผู้ใช้บริการของรัฐที่สามารถจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับตนเองได้ โดยการกำหนดค่าบริการให้เหมาะสมกับต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ส่งเสริมการประกันสุขภาพที่ผู้มีฐานะดีและผู้มีรายได้ปานกลาง สามารถช่วยตนเองได้เพื่อช่วยลดภาระงบประมาณให้มีเหลือสำหรับใช้จ่ายในแผนงานบริการสุขภาพอื่น ๆ ที่จำเป็นนอกจากนี้ควรสนับสนุนให้มีการนำเอาระบบภาษีที่มีการนำเอาระบบภาษีที่มีการหักรายได้ส่วนหนึ่งจากภาษีบางรายการที่เรียกเก็บจากสินค้า และบริการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนมาใช้เพื่อสนับสนุนงานด้านสาธารณสุขโดยเฉพาะด้วย ในส่วนของกระทรวงสาธารณสุขยังคงต้องการการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับ สภาพปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของประชาชน ตลอดจนสถานะทางการเงินการคลังของประเทศด้วยลักษณะของตลาดภาคสุขภาพนำไปสู่ความล้มเหลวของตลาด (Market failure) รัฐบาลจึงต้องเข้ามาแทรกแซง ขณะเดียวกันความล้มเหลวของรัฐบาล(government failure) ก็อาจเกิดขึ้นได้ หากการดำเนินงานของรัฐบาลขาดประสิทธิภาพ การกำกับดูแลภาคเอกชนในการให้บริการที่เหมาะสมประกอบกับการพิจารณาจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเฉพาะในเรื่องบริการสุขภาพและการแพทย์เพื่อประโยชน์สุขแก่คนส่วนใหญ่ของ ประเทศเป็นสิ่งที่จำเป็นนอกจากต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของประชาชน ชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชนทุกฝ่ายแล้วสถาบันทั้งภาครัฐและเอกชนยังต้องมีจิตสำนึก ร่วมกันรับผิดชอบต่อเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้า การพัฒนาสาธารณสุขจะประสบผลสำเร็จได้ด้วยดีก็ต่อเมื่อผู้นำรัฐบาลและ ผู้บริหารของกระทรวงมีวิสัย-ทัศน์กว้างไกล และตระหนักถึงคุณค่าของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างแท้จริงen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3891963 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชen_US
dc.subjectEconomics, Medicalen_US
dc.subjectHealthen_US
dc.subjectการคลังเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์การคลังen_US
dc.titleเศรษฐศาสตร์การคลังเพื่อสุขภาพen_US
dc.title.alternative[Health Economic Financing]en_US
dc.identifier.callnoW74 ส242ศ 2541en_US
dc.subject.keywordเศรษฐศาสตร์การคลังen_US
dc.subject.keywordการคลังเพื่อสุขภาพen_US
.custom.citationสุชาดา ตั้งทางธรรม and Suchada Tangtangtham. "เศรษฐศาสตร์การคลังเพื่อสุขภาพ." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1312">http://hdl.handle.net/11228/1312</a>.
.custom.total_download571
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year31
.custom.downloaded_fiscal_year4

Fulltext
Icon
Name: hs0150.pdf
Size: 3.841Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record