dc.contributor.author | จิรัญญา มุขขันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jiranya Mookkan | en_US |
dc.contributor.author | วรรณศรี รักสะอาด | th_TH |
dc.contributor.author | อนัญญา เดชสุภา | th_TH |
dc.contributor.author | สิทธิชัย ทองบ่อ | th_TH |
dc.contributor.author | สุพัตรา สายเชื้อ | th_TH |
dc.contributor.author | สมคิด ศรประสิทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร | th_TH |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:19:24Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:47:27Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:19:24Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:47:27Z | |
dc.date.issued | 2545 | en_US |
dc.identifier.other | hs0945 | en_EN |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1417 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบองค์รวมด้านความร่วมมือในการรับประทานยา ความร่วมมือในการรับประทานอาหารและความร่วมมือในการปฏิบัติตัว การเกิดภาวะแทรกซ้อนและปัญหารายบุคคลของผู้ป่วยเบาหวานก่อนและหลังให้กระบวนการดูแลแบบองค์รวม โดยศึกษาแบบไปข้างหน้าในผู้ป่วยนอกที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ซึ่งไม่มีภาวะแทรกซ้อนทั้งทางจอประสาทตา ไต และระบบหัวใจและหลอดเลือด ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลกุดชุม ในระหว่างเดือน เมษายน 2543 ถึง มกราคม 2544 โดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์และการรายงานด้วยตนเองของผู้ป่วยก่อนและหลังได้รับการดูแลแบบองค์รวมผลการศึกษาจากผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ 15 คน เป็นชาย 4 คน หญิง 11 คน ผู้ป่วยส่วนใหญ่อายุอยู่ในช่วง 40 – 50 ปี เป็นโรคเบาหวานมานาน 1- 5 ปี มากที่สุด มีผู้ป่วยซึ่งมีญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวานถึง 9 คน จาก 15 คนที่ศึกษา อาชีพหลักของผู้ป่วยส่วนใหญ่ คือ เกษตรกร แต่มีหลักประกันด้านสุขภาพทุกคน ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังให้กระบวนการดูแลแบบองค์รวมเพิ่มขึ้นจาก 2 คน เป็น 8 คน ส่วนความร่วมมือในการรับประทานอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังให้กระบวนการดูแลแบบองค์รวม เพิ่มขึ้น จาก 3 คนเป็น 13 คน และความร่วมมือในการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังให้กระบวนการดูแลแบบองค์รวม เพิ่มขึ้นจาก 9 คนเป็น 15 คน หลังให้กระบวนการดูแลแบบองค์รวมไม่พบภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นในผู้ป่วยทั้ง 15 คน และปัญหารายบุคคลของผู้ป่วยมีแนวโน้มลดลง จากผลที่ได้ในการศึกษาครั้งนี้ จึงควรนำกระบวนการดูแลแบบองค์รวม โดยทีมสุขภาพไปใช้เป็นแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยให้เหมาะสม ตามปัจจัยพื้นฐานและสภาพปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วยแต่ละคนต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1890568 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Yasothon | en_US |
dc.subject | ยโสธร | en_US |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | ประสิทธิผลของการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานแบบองค์รวม โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร | en_US |
dc.title.alternative | The effectiveness of holistic health care in diabetes mellitus at Kutchum hospital, Yasothon | en_US |
dc.description.abstractalternative | The prospective study was conducted at Kutchum Hospital during April 2000 to January 2001.The objective was to determine the effectiveness of holistic health care that provided to type 2 Diabetes mellitus ( type 2 DM ) by health care team. The health care team were consist of a pharmacist, a nurse, a dietition , a doctor, a patient and other related. person who take care the patient. The effectiveness were determine by comparing of patient compliance,chronic complication and individual problems before and after interventions. The subjects were intervenced after visited a doctor.Patient counseling was the most important instrument of interventions. There were fifteen out-patients without chronic complication were included,11 females and 4 males.Average age was 40 – 50 years old. They were diagnosted as diabetes around 1 – 5 years ago and nine cases had diabetes relatives. Most of them were farmers and also had health cards. The compliance to prescribed medication, usage of appropriate diets and self-care behaviour were increased from 2 to 8 cases, 3 to 13 cases and 9 to 15 cases, respectively. In addition, we found no report of their complication and trend of their individual problems had been decreased after forcing interventions. The result indicated that holistic health care in diabetic mellitus by health team should be applied to make the patients taking care their health according to their basic conditioning factors and health care demand. | en_US |
dc.identifier.callno | WL355 จ530ป 2545 | en_US |
dc.identifier.contactno | 43ค008 | en_US |
dc.subject.keyword | Diabetes Mellitus | en_US |
dc.subject.keyword | Kutchum hospital | en_US |
dc.subject.keyword | Holistic Health Care | en_US |
dc.subject.keyword | เบาหวาน | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้ป่วย, การดูแล | en_US |
dc.subject.keyword | โรงพยาบาลกุดชุม | en_US |
.custom.citation | จิรัญญา มุขขันธ์, Jiranya Mookkan, วรรณศรี รักสะอาด, อนัญญา เดชสุภา, สิทธิชัย ทองบ่อ, สุพัตรา สายเชื้อ, สมคิด ศรประสิทธิ์ and โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร. "ประสิทธิผลของการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานแบบองค์รวม โรงพยาบาลกุดชุม จังหวัดยโสธร." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1417">http://hdl.handle.net/11228/1417</a>. | |
.custom.total_download | 510 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 11 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |