แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน : การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอ

dc.contributor.authorวรนุช วุฒิอุตดมen_US
dc.contributor.authorWoranuch Wuthiutadomen_US
dc.contributor.authorลือชัย ศรีเงินยวงen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:36Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:28:41Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:36Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:28:41Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0269en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1439en_US
dc.description.abstractความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน: การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ 4 ประการ คือเพื่อวิเคราะห์สภาพการณ์และปัจจัยกำหนดการปฏิเสธ/ยอมรับการหยอดวัคซีโปลิโอใน เด็กนักเรียนตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอปี พ.ศ.2537 2) ประเมินการดำเนินงานสารนิเทศ การศึกษาและการสื่อสาร เพื่อแสวงหาความร่วมมือในการหยอดวัคซีนโปลิโอตามโครงการรณรงค์ฯวิเคราะห์แนวโน้ม ความร่วมมือในการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็ก และเหตุปัจจัยกำหนดสำหรับการดำเนินโครงการรณรงค์ในวัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอ ปี พ.ศ.2538 และ ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงโครงการรณรงค์ให้วัคซีน เพื่อกวาดล้างโปลิโอ ปี พ.ศ.2538การวิจัยใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นของผู้ปกครองจำนวน 754 รายจากโรงเรียน 9 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร โดยสุ่มเลือกจากโรงเรียนที่สังกัดส่วนงานต่างๆ ทั้งกรุงเทพมหานคร เอกชนและทบวงมหาวิทยาลัย การเก็บข้อมูลใช้ 3 วิธี คือ การให้ผู้ปกครองตอบแบบสำรวจด้วยตนเอง การสัมภาษณ์ต่อหน้า และการสัมภาษณ์ผ่านทางโทรศัพท์ นอกจากนี้การวิจัยยังใช้อาศัยข้อมูลจากการสัมภาษณ์ครูและผู้รับผิดชอบโครงการในโรงเรียนที่สำรวจ และการวิเคราะห์สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ร่วมด้วย ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนร้อยละ 98.4 เคยได้รับวัคซีนมาก่อนการรณรงค์ แต่ผู้ปกครองเกือบร้อยละ 70 จำรายละเอียดไม่ได้ว่าได้รับมากี่ครั้ง แม้ว่าเกือบทั้งหมดจะยืนยันว่าแน่ใจว่าเด็กได้รับวัคซีนมาครบทุกครั้งโครงการรณรงค์ได้มีการประชาสัมพันธ์และติดต่อขอความร่วมมือจากประชาชน โรงเรียน และผู้ปกครองในหลายลักษณะ ใช้สื่อทั้งที่เป็นสื่อสาธารณะ และการติดต่อด้วยเอกสารถึงโรงเรียนและผู้ปกครอง อย่างไรก็ดีในระดับโรงเรียนถึงผู้ปกครองดูจะมีรูปแบบที่หลากหลายและอาจมีผลต่อระดับการรับรู้และความเข้าใจที่ไม่เท่ากัน แต่ทั้งหมดนั้นดูจะไม่มีการให้ความสำคัญมากนักเพราะเห็นว่าการฉีดวัคซีนเด็กเป็นเรื่องปกติ ทั้งโรงเรียนและผู้ปกครองโดยส่วนใหญ่en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectImmunity--In infancy & childhooden_US
dc.subjectโปลิโอ, วัคซีนth_TH
dc.subjectวัคซีนในเด็กth_TH
dc.subjectโปลิโอไวรัส, วัคซีนth_TH
dc.subjectPoliovirus Vaccineen_EN
dc.subjectPoliomyelitisen_EN
dc.titleความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน : การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอen_US
dc.title.alternativeParents' Opinion on Polio Vaccination in Students : Study in Bangkoken_US
dc.identifier.callnoWC556 ว17ค 2539en_US
.custom.citationวรนุช วุฒิอุตดม, Woranuch Wuthiutadom and ลือชัย ศรีเงินยวง. "ความคิดเห็นของผู้ปกครองต่อการหยอดวัคซีนโปลิโอในเด็กนักเรียน : การศึกษาในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการรณรงค์ให้วัคซีนเพื่อกวาดล้างโปลิโอ." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1439">http://hdl.handle.net/11228/1439</a>.
.custom.total_download134
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year5
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0269.pdf
ขนาด: 1.612Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย