Show simple item record

Factors influencing health promoting behavior and health utilization behavior among people under the universal coverage project

dc.contributor.authorอติญาณ์ ศรเกษตรินth_TH
dc.contributor.authorAtiya Sarakshetrinen_US
dc.contributor.authorเพ็ญศรี ทองเพชรth_TH
dc.contributor.authorสมหมาย คชนามth_TH
dc.contributor.authorอัจริยา วัชราวิวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorจรัสพงษ์ สุขกรีth_TH
dc.contributor.authorงามนิตย์ รัตนานุกูลth_TH
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ชอบตรงth_TH
dc.contributor.authorPensi Thongpheten_US
dc.contributor.authorSommai Kochanamen_US
dc.contributor.authorAtjariya Vatchalavivaten_US
dc.contributor.authorJaruspong Sukgreeen_US
dc.contributor.authorNgamnit Ratananugoolen_US
dc.contributor.authorSomsak Choptongen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:19:39Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:26:24Z
dc.date.available2008-12-04T05:19:39Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:26:24Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1145en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1446en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้บริการของประชาชนภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยศึกษาจากประชาชนในภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พังงา ตรัง และยะลา จำนวน 1,200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และแบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และผ่านการทดลองใช้ได้ค่าความเชื่อมั่นอยู่ในช่วง 0.71 – 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์ความสัมพันธ์และอำนาจการทำนายโดยใช้ Multiple regression analysis และ Multiple logistic analysis วิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้ One Way ANOVA และ Chi-square ผลการวิจัยพบว่าพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของประชาชนภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อยู่ในระดับปานกลางพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพส่วนใหญ่ไปใช้บริการที่สถานอนามัย รองลงมาคือโรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย์ ส่วนการรักษากับแพทย์พื้นบ้านไปใช้บริการน้อยที่สุด ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพได้แก่ อายุ ค่านิยมเกี่ยวกับสุขภาพและการเจ็บป่วย คุณภาพบริการ การรับรู้ความสามารถแห่งตนในการดูแลสุขภาพและการรับรู้แรงสนับสนุนทางสังคม โดยปัจจัยทั้งหมดสามารถอธิบายพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพได้ร้อยละ 32.9 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพ ได้แก่ เพศ ระดับการศึกษา ประเภทของการประกันสุขภาพ ค่านิยมเกี่ยวกับสุขภาพการเจ็บป่วย การรับรู้สิทธิของผู้ใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า การรับรู้สิทธิของกลุ่มข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ การได้รับข้อมูลข่าวสาร ความต้องการด้านสุขภาพ คุณภาพบริการ และการเข้าถึงบริการสุขภาพเปรียบเทียบพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ จำแนกตามประเภทการประกันสุขภาพ พบว่า กลุ่มที่มีบัตรประกันสุขภาพต่างกัน มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพมากกว่า กลุ่มที่มีบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า และกลุ่มที่มีบัตรประกันสังคมเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพ จำแนกตามประเภทการประกันสุขภาพ พบว่า กลุ่มที่มีบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าใช้บริการที่สถานีอนามัยและโรงพยาบาลชุมชน มากกว่าที่มีบัตรประกันสังคมและกลุ่มข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และกลุ่มข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ใช้บริการที่โรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย์ มากกว่าผู้ใช้บัตรประกันสังคม และบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพth_TH
dc.format.extent4312458 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectHealth Behavioren_US
dc.subjectHealth Servicesen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบประกันสุขภาพth_TH
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพth_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของประชาชนภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing health promoting behavior and health utilization behavior among people under the universal coverage projecten_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were to study factors influencing health promoting behavior and health utilization behavior among people under the universal coverage project in the southern region. The sample comprised of 1200 people who were drawn by multistage sampling technique from suratthani, pang-nga, trang and yala province respectively. The instruments consisted of indepth-interview form, focus group form and questionnaire which were passed the quality examination by the expert and field try out. The reliability of questionnaires were 0.69-0.91. The qualitative data was analyzed by content analysis, the quantitative data were analyzed by descriptive statistics, Multiple regression analysis, Multiple logistic analysis, ANOVA and Chi-square test. The results were as follows: 1. Health promoting behavior among people under the universal coverage project was fair level. 2. Health utilization behavior, most of the sample used health center and general hospital. Folk medicine was not popular for the sample. 3. Factors related to health promotion behavior were age, health value, quality of care, self efficacy and social support. The variance explanation of all factors was 32.9 4. Factors related to health utilization behavior were sex, education, type of insurance ,health need, perceived of right of universal coverage, perceived of right of government official . health information, health need, quality of care and health service accessibility. 5. The comparison of health promoting behavior revealed that the sample of government official group had more health promoting behavior than universal coverage group and social security group. 6. The comparison of health utilization behavior revealed that the sample of universal coverage group had more used health service at health center and community hospital than government official group and social security group. The sample of government officer /private corporation group had more used health service at general hospital than the sample of social security and universal coverage group.en_US
dc.identifier.callnoWA530 อ137ป 2547en_US
dc.identifier.contactno46ค048en_US
dc.subject.keywordHealth Promoting Behavioren_US
dc.subject.keywordHealth Utilization Behavioren_US
dc.subject.keywordUniversal Health Coverageen_US
dc.subject.keywordการสร้างเสริมสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordหลักประกันสุขภาพth_TH
.custom.citationอติญาณ์ ศรเกษตริน, Atiya Sarakshetrin, เพ็ญศรี ทองเพชร, สมหมาย คชนาม, อัจริยา วัชราวิวัฒน์, จรัสพงษ์ สุขกรี, งามนิตย์ รัตนานุกูล, สมศักดิ์ ชอบตรง, Pensi Thongphet, Sommai Kochanam, Atjariya Vatchalavivat, Jaruspong Sukgree, Ngamnit Ratananugool and Somsak Choptong. "ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพและพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของประชาชนภายใต้การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1446">http://hdl.handle.net/11228/1446</a>.
.custom.total_download1105
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year24
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs1145.pdf
Size: 988.2Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record