dc.contributor.author | นิ่มนวล มัยคุณอุปถัมภ์ | en_US |
dc.contributor.author | Nimnuan Maikunaupathum | en_US |
dc.contributor.author | บัญญัติ สิทธิธัญกิจ | en_US |
dc.contributor.author | จินตนา ตั้งสิชฌนกุล | en_US |
dc.contributor.author | ฌรงค์ เดชชัยวัฒนา | en_US |
dc.contributor.author | อุดม อรุณรุ่งศรี | en_US |
dc.contributor.author | ชุติมา ชัยพิสุทธิสกุล | en_US |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ ตั้งตระกูล | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:19:42Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:19:17Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:19:42Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:19:17Z | |
dc.date.issued | 2542 | en_US |
dc.identifier.other | hs0695 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1454 | en_US |
dc.description.abstract | ผลของระบบประเมินการใช้ยาต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น หลักการและเหตุผล มูลค่าการใช้ยาเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 อันประกอบด้วย ceftriaxone, cefotaxime และ ceftazidime ของโรงพยาบาลขอนแก่นมีปริมาณการใช้ที่สูง การประเมินการใช้ยาในกลุ่มดังกล่าวมีผลลดการใช้ยาที่ไม่จำเป็นลง วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการใช้ยาเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ที่มีเหมาะสม ก่อนและหลังมี intervention รูปแบบการศึกษา เป็นการศึกษาเปรียบเทียบการใช้ยาก่อนและหลังมีระบบการประเมินการใช้ยาในหอผู้ป่วยสามัญกลุ่มงานศัลยกรรมและอายุรกรรมโรงพยาบาลขอนแก่น โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป วิธีการศึกษา การศึกษาแบ่งเป็น 2 ช่วง ช่วงละ 3 เดือน ช่วงแรกเป็นการเก็บข้อมูลการสั่งใช้ยาของแพทย์ ตามด้วยการให้ความรู้โดยจัดประชุมวิชาการ การจัดทำเกณฑ์มาตรฐานการใช้ยาและการใช้ drug utitlization evaluation programme แล้วเก็บข้อมูลในระยะที่สองภายหลัง ซึ่งข้อมูลทั้งสองช่วงนำมาเปรียบเทียบหาร้อยละของการสั่งยาที่ไม่เหมาะสม ผลการศึกษา ผลของการให้ความรู้และระบบการประเมินการใช้ยาเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 มีส่วนลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมจากร้อยละ 62.6 เหลือเพียงร้อยละ 40.0 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อแยกตามชนิดของยาแล้วพบว่า ความไม่เหมาะสมของการสั่งใช้ Cefotaxime ลดลงจากร้อยละ 65.4 เหลือร้อยละ 39.7 Cetriazone จากร้อยละ 45.8 เหลือร้อยละ 39.3 Ceftazidime จากร้อยละ 91.9 เหลือเพียง 41.2 โดยมีภาวะวิกฤตของเศรษฐกิจเข้ามามีส่วนกระทบต่อการลดความไม่เหมาะสมดังกล่าวร่วมด้วย สรุป ระบบการประเมินการใช้ยาเซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 มีส่วนในการลดการใช้ยาที่ไม่เหมาะสมและน่าจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการประเมินการใช้ยาในกลุ่มอื่นได้ คำศัพท์: ระบบประเมินการใช้ยา, การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม, เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1752888 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Drug Utilization Evaluation | en_US |
dc.subject | DUE | en_US |
dc.subject | Inappropriate Rational Use | en_US |
dc.subject | Third Generation Cephalosporins | en_US |
dc.subject | ระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ | en_US |
dc.subject | เซฟาโลสปอริน | en_US |
dc.title | ผลของระบบการประเมินการใช้ยา ต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น | en_US |
dc.title.alternative | Drug Utilization Evaluation Programme on third Generation Cephalosporin Use in Khon-Kaen Hospital | en_US |
dc.description.abstractalternative | Drug utilization evaluation programme on third generationcephalosporin use in Khon Kean hospitalObjective: To assess the effect of the interventionnal programme (DUE and Education) on the inappropriate use of third generation cephalosporins in Khon-Kaen regional hospital. Design : Before-after experimental study. Setting : Three medical and six surgical of Khon-Kaen regional hospital. Partipants: Prescriptions of all hospitalized infectious patients, over 15 years of age, treated with third generation cephalosporins, were included. Intervention: The intervention programme was consisted of one educational convention, a standard criteria for appropriate cephalosporin usage and drug utilization evaluation (DUE) programme. Main outcome measure : The percentages of inappropriate use were compared with regarding to any of the following seven categories; no indication, no evidence of infection, other alternative drugs could be use due to culture and sensitivity, possibility of toxicity, improper dosage regimen, improper duration of treatment and economic reason. Results: Four hundred and seventeen prescriptions in pre-intervention period (1997, May-July) and one hundred and forty prescriptions in post-intervention period (1998, February-April) were evaluated for inappropriate use and compared. The percentages of inappropriate rational use all three cephalosporins were significantly decreased, from 62.6 to 40.0. And individually, cefotaxime, ceftriaxone, ceftazidime from 65.4 to 39.7, 45.8 to 39.3 and 91.9 to 41.2 respectively.However, economic crisis of the country on the physician's prescribed behavior needed to be determined. Conclusion: The DUE programme in addition to physicians education could decrease the inappropriate use of third generation cephalosporins. Therefore, this may be applicable for other drugs and useful for other clinical institutes. | en_US |
dc.identifier.callno | QV350.5.C3 น630 2542 | en_US |
dc.subject.keyword | การใช้ยา | en_US |
.custom.citation | นิ่มนวล มัยคุณอุปถัมภ์, Nimnuan Maikunaupathum, บัญญัติ สิทธิธัญกิจ, จินตนา ตั้งสิชฌนกุล, ฌรงค์ เดชชัยวัฒนา, อุดม อรุณรุ่งศรี, ชุติมา ชัยพิสุทธิสกุล and เสาวลักษณ์ ตั้งตระกูล. "ผลของระบบการประเมินการใช้ยา ต่อการใช้เซฟาโลสปอริน รุ่นที่ 3 ในโรงพยาบาลขอนแก่น." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1454">http://hdl.handle.net/11228/1454</a>. | |
.custom.total_download | 145 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 10 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |