แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การวิจัยและพัฒนาระบบเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับชุมชนใกล้แม่น้ำพอง

dc.contributor.authorยรรยงค์ อินทร์ม่วงen_US
dc.contributor.authorYanyong Inmuongen_US
dc.contributor.authorนฤมล แสงประดับen_US
dc.contributor.authorบัญชร แก้วส่องen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:20:28Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:13Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:20:28Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0733en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1528en_US
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนาระบบเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับชุมชนใกล้แม่น้ำพองการวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษา และวิเคราะห์สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม ปัญหาสิ่งแวดล้อม และสุขภาพชุมชนริมฝั่งแม่น้ำพอง ที่ได้รับผลกระทบมลพิษทางน้ำ (2) สังเคราะห์ แนวคิด และองค์ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น และ (3) ทดลองให้ชุมชนร่วมกันสร้าง และพัฒนาระบบเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ชุมชนต้องการ พื้นที่ศึกษาคัดเลือกกลุ่มหมู่บ้านริมแม่น้ำพองที่มีปัญหามลพิษทางน้ำบ่อยครั้ง 9 หมู่บ้าน โดยเป็นหมู่บ้านในเขตจังหวัดขอนแก่น ที่ตั้งอยู่ใกล้เขตโรงงานและบริเวณใกล้เคียง โดยแต่ละหมู่บ้านมีสถิติการร้องเรียนปัญหามลพิษต่างกันผลการศึกษาพบว่าชุมชนริมฝั่งแม่น้ำพองได้รับผลกระทบจากมลพิษทางน้ำต่างกัน โดยชุมชนที่ตั้งอยู่ใกล้เขตโรงงานริมฝั่งแม่น้ำพองได้รับผลกระทบมากกว่าชุมชนเหนือและท้ายน้ำที่ตั้งห่างแหล่งอุตสาหกรรมออกไป แหล่งน้ำดื่มและน้ำใช้ ของชุมชนใกล้โรงงานปนเปื้อน ทำให้ชุมชนต้องเปลี่ยนพฤติกรรมจากการบริโภคน้ำฝนเป็นการซื้อน้ำบรรจุขวดดื่ม และบ่อน้ำตื้นในหมู่บ้านไม่สามารถใช้เพื่อการอุปโภค และบริโภคได้ตามปกติ น้ำเพื่อการเพาะปลูกปนเปื้อนมีคุณภาพเกินมาตรฐานการชลประทาน พื้นที่เพาะปลูกข้าวบางส่วนได้รับผลกระทบ ชุมชนมีปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการสัมผัสน้ำโดยเกิดอาการผื่นคันปัญหาอุปสรรคของชุมชนนั้น พบว่าชุมชนมีปัญหาด้านอุปกรณ์ตรวจสอบคุณภาพน้ำที่แตกชำรุดง่าย และหาซื้อยาก ชุมชนต้องการใช้ข้อมูลของชุมชน และต้องการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจกำหนดแผนงานพัฒนาลุ่มน้ำร่วมกับภาครัฐ แต่ อบต. มีศักยภาพจำกัดในการสนับสนุนชุมชน โดยพบว่า อบต.สองแห่งมีงบประมาณเพียงพอสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน แต่ อบต.ทั้งหมดต้องการความสนับสนุนด้านเทคนิควิชาการ เรื่อง การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในลุ่มน้ำแบบการมีส่วนร่วมโดยชุมชน เทคนิคและอุปกรณ์ในการตรวจสอบมลพิษสิ่งแวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยชุมชน และการจัดการข้อมูลคุณภาพสิ่งแวดล้อมชุมชน เป็นต้นen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3945707 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectEnvironmenten_US
dc.subjectสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพen_US
dc.titleการวิจัยและพัฒนาระบบเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับชุมชนใกล้แม่น้ำพองen_US
dc.title.alternativeCommunity-based monitoring system on environmental quality and health in the Pong riveren_US
dc.description.abstractalternativeCommunity-Based Monitoring System on Environmental Quality and Health in the Pong RiverThis operational research was aimed to investigate socioeconomic, environment and health problems of the Pong communities affected by water pollution, and abstract community practices on environmental surveillance systems between local communities, andadopt community-based systems on environmental quality surveillance. The investigation focussed on nine communities locating adjacent to industrial site, along the Pong River in Nampong, Khon Kaen Province Thailand. All these villages have often complained about water pollution. The study results showed local communities have been impacted by water pollution with different degrees of the magnitude. The communities located adjacent to the industry were much effected by pollution than the further upstream and downstream villages. Obvious impacts were their water supply for household uses and drinking waters. They have to buy waters instead of drinking rainwater as usual. The polluted waters from bored-well are restricted for any household uses. The irrigation waters were also polluted, which were therefore much poor and exceeding agriculture standards for rice forming. The rice paddocks were party impacted due to wastewater leaching from the industry. Major health impact due to water pollution found was skin rash when the locals contacted contaminated waters. Overall assessment initially revealed that the locals wished to use their information, and wanted to participate in watershed development decision-making process. Two out of the three local governments could financially support the communities. However, all three local governments still need supports technically, particularly, with practical issues of community participation on watershed management, techniques and materials on pollution assessment and community health impacts, and environmental information management system. The locals have difficulty of using water-testing materials, in which glassware was easily broken and inappropriate. Some spare parts were hardly found in the rural.en_US
dc.identifier.callnoWA30 ย144ก 2543en_US
dc.subject.keywordWater Pollutionen_US
dc.subject.keywordEnvironmental Pollutionen_US
dc.subject.keywordEnvironmental Healthen_US
dc.subject.keywordPong Riveren_US
dc.subject.keywordมลพิษทางน้ำen_US
dc.subject.keywordการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subject.keywordการตรวจสอบคุณภาพน้ำen_US
dc.subject.keywordแม่น้ำพองen_US
dc.subject.keywordการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subject.keywordการจัดการน้ำen_US
.custom.citationยรรยงค์ อินทร์ม่วง, Yanyong Inmuong, นฤมล แสงประดับ and บัญชร แก้วส่อง. "การวิจัยและพัฒนาระบบเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในระดับชุมชนใกล้แม่น้ำพอง." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1528">http://hdl.handle.net/11228/1528</a>.
.custom.total_download219
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0733.PDF
ขนาด: 3.901Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย