Show simple item record

Development of WHO's health state description for Thais

dc.contributor.authorสุชาดา ทวีสิทธิ์th_TH
dc.contributor.authorSuchada Taweesiten_US
dc.contributor.authorจินตนา วัชรสินธุ์th_TH
dc.contributor.authorChitana Watcharasinen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:17Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:33:50Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:17Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:33:50Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.otherhs1120en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1536en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงแบบสำรวจสถานะสุขภาพชนิดให้ผู้ตอบเป็นผู้ประเมินเอง (Self-Assessment Health State Description) ที่พัฒนาขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก ทั้งนี้เพื่อทำให้แบบสำรวจดังกล่าวมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับบริบทของคนไทย โดยคณะผู้วิจัยได้แปลแบบสำรวจสถานะสุขภาพและนำไปทดสอบเบื้องต้นก่อน 1 ครั้ง เพื่อปรับภาษาไทยที่แปลให้สื่อความหมายเข้าใจได้ง่ายขึ้น ก่อนนำไปทดสอบจริงในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 420 คน ใน 5 จังหวัดที่มีลักษณะของความเป็นตัวแทนของแต่ละภาค คือ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดชลบุรี จังหวัดยะลา และกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบแบบสำรวจนี้กระจายครอบคลุมประชากรเพศหญิง เพศชาย และกลุ่มอายุ 5 กลุ่ม (กลุ่มอายุ 18-29 ปี กลุ่มอายุ 30-44 ปี กลุ่มอายุ 45-59 ปี กลุ่มอายุ 60-69 ปี และกลุ่มอายุ 70 ปี ขึ้นไป) ในสัดส่วนที่เท่าๆ กัน และได้นำผลการทดสอบมาปรับแก้แบบสำรวจสถานะสุขภาพ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ทำแบบทดสอบนี้ตอบข้อคำถามการประเมินสุขภาพโดยรวมวันนี้ (คำถามข้อที่ 1.1) คำถามการประเมินสุขภาพโดยรวมเกี่ยวกับความยากลำบากในการทำกิจวัตรประจำวันทั้งสถานะสุขภาพทางกายและสถานะสุขภาพทางจิตใจและอารมณ์ในช่วง 30 วันที่ผ่านมา (คำถามข้อที่ 1.2) และ ข้อคำถามย่อยทุกข้อในการประเมินสถานะสุขภาพมิติย่อยทั้ง 8 มิติ ได้แก่ มิติการเคลื่อนไหว มิติการดูแลตนเอง มิติความเจ็บปวดและ/หรือความไม่สุขสบาย มิติการมีสมาธิ มิติสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น มิติการมองเห็น มิติการนอนหลับและ/หรือความมีชีวิตชีวา และมิติภาวะอารมณ์/จิตใจ และมิติความเจ็บปวดหรือไม่สุขสบาย ไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งอาจอธิบายได้ว่า คำถามทุกข้อเป็นคำถามที่มีความคงที่สูง นอกจากนี้ยังพบความสอดคล้องกันระหว่างคำตอบที่ได้จากคำถามข้อ 1.2 กับคำตอบที่ได้จากคำถามในมิติสุขภาพทั้ง 8 มิติ ซึ่งแสดงว่าข้อคำถามในแบบประเมินภาวะสุขภาพนี้มีความน่าเชื่อถือ และในการหาความสัมพันธ์ของคำตอบจากการประเมินภาวะสุขภาพรายข้อระหว่างกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าคำตอบการประเมินภาวะสุขภาพรายข้อทุกข้อ ระหว่าง 2 กลุ่ม มีความสัมพันธ์กัน แสดงว่าแบบวัดนี้น่าจะมีค่าความเที่ยงสามารถนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะทางประชากรคล้ายคลึงกันได้th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1035334 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Surveysen_US
dc.subjectHealth Status Indicatorsen_US
dc.subjectการปฏิรูประบบสุขภาพen_US
dc.subjectอนามัย, สุขภาพen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการพัฒนาแบบสำรวจสถานะสุขภาพชนิดผู้ตอบประเมินตนเองขององค์การอนามัยโลกสำหรับคนไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of WHO's health state description for Thaisen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims at developing the standardized self-reported health state questionnaire that will serve as a tool for collecting valid, reliable and comparable population health data in Thailand. The data regarding population health which will be obtained through the use of this questionnaire will be beneficial for adjusting health policies and programs in Thailand to meet the needs and health problems of the people. In order to accomplish the task, the research team has chosen the WHO’s Health State Description developed under the WHS 2002-2003 project which is considered standardized to be translated into Thai language. After completion of the processes of translation and language adjustment, the questionnaire was tested in the samples which are representative of Thai people characterized by age, sex and socio-economic status. In addition, in order to enhance a cross population comparative quality of the questionnaire, the testing was carried out in 5 provinces where are regarded as Thailand’s cultural specific areas. They include Yala in the South, Chonburi and Bangkok in the Central, Chiang Mai in the North and Ubon Ratchathani in the Northeast. The sample size was 420 covering population in 5 age groups (age 18-29 years-old, 30-44 years-old, 45-49 years-old, 60-69 years-old and over 70 years-old). After collecting, processing and analyzing of the data, the translated questionnaire was reconsidered and adjusted in some specific questions that the given answers show low reliability and consistency. The statistical analysis of the testing indicates that a majority of the respondents gave an answer to each question in eight domains of health in a similar direction. This result shows a consistency and reliability of the translated questionnaire. Furthermore, the correlation testing demonstrates the consistency and internal validity of questions used in the questionnaire.en_US
dc.identifier.callnoWA900 ส759ก 2546en_US
dc.identifier.contactno46ค088en_US
dc.subject.keywordHealth State Descriptionsen_US
dc.subject.keywordแบบสำรจสถานะสุขภาพชนิดผู้ตอบประเมินตนเองen_US
.custom.citationสุชาดา ทวีสิทธิ์, Suchada Taweesit, จินตนา วัชรสินธุ์ and Chitana Watcharasin. "การพัฒนาแบบสำรวจสถานะสุขภาพชนิดผู้ตอบประเมินตนเองขององค์การอนามัยโลกสำหรับคนไทย." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1536">http://hdl.handle.net/11228/1536</a>.
.custom.total_download113
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1120.pdf
Size: 1.080Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record