Show simple item record

Policy development of universal coverage in Thailand

dc.contributor.authorอำพล จินดาวัฒนะth_TH
dc.contributor.authorAmphon Jindawatthanaen_US
dc.contributor.authorสุรณี พิพัฒน์โรจนกมลth_TH
dc.contributor.authorSuranee Pipatrotchanakamolen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:25Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:31:39Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:25Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:31:39Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.otherhs1073en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1557en_US
dc.description.abstractกระแสการปฏิรูประบบเพื่อสุขภาพในประเทศไทยมีความเข้มข้นสูงมากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา สอดคล้องกับกระแสที่เกิดขึ้นทั่วโลก เนื่องจากเหตุผลหลายประการ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของคนไทยสูงขึ้นมากถึงปีละ 2-3 แสนล้านบาทและมีอัตราเพิ่มที่สูงมากกว่าร้อยละ 10 ต่อปี เข้าลักษณะค่าใช้จ่ายที่ควบคุมไม่ได้ การดําเนินงานด้านสุขภาพส่วนใหญ่มุ่งไปที่การจัดบริการสาธารณสุขเพื่อการรักษาพยาบาล (ซ่อมสุขภาพมากกว่าสร้างสุขภาพ) แม้ตัว ระบบบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชนจะมีการพัฒนามาโดยตลอด ทั้งในเชิงปริมาณ การกระจายและคุณภาพ แต่ยังคงมีปัญหามาก ทั้งในแง่ความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ คุณภาพบริการที่แตกต่างกันมาก และมีการใช้ทรัพยากรอย่างขาดประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันมีประชาชนราว 20 ล้านคน ขาดหลักประกันในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขเมื่อยามจําเป็น ปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ กําหนดสิทธิแก่ประชาชนเพิ่มขึ้นชัดเจน หนึ่งในนั้นคือ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุข ซึ่งระบุไว้ในมาตรา 52 ว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ..” และมาตรา 82 ระบุว่า “รัฐต้องจัดและส่งเสริมการสาธารณสุขให้ประชาชนได้รับบริการที่ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง” ตรงนี้คือฐานสําคัญที่ทําให้กระแสการปฏิรูประบบต่างๆ เพื่อสุขภาพที่ก่อขึ้นหลายจุด หลายกรรม หลายวาระ ผนวกกันเข้า จนกระทั่งทําให้รัฐบาลชุดที่มีพรรคไทยรักไทยเป็นแกนนําดึงเอานโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบเพื่อสุขภาพ ขึ้นมาทําจนสําเร็จในเวลาอันรวดเร็ว ประสบการณ์เรื่องนี้ สมควรใช้เป็นบทเรียนรู้สําหรับคนไทยเพื่อนําไปสู่การปฏิรูปและการพัฒนาระบบเพื่อสุขภาพในส่วนอื่นๆ รวมทั้งปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาในส่วนที่ทําไปแล้วให้เข้มแข็งและดียิ่งขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent703023 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Insurance -- Thailanden_US
dc.subjectHealth Services Accessibility -- Thailanden_US
dc.subjectHealth Administration -- Thailanden_US
dc.subjectHealth Policy -- Thailanden_US
dc.subjectระบบประกันสุขภาพen_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขen_US
dc.subjectการประกันสุขภาพ -- ไทยen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพ -- นโยบายของรัฐen_US
dc.subjectอนามัย, บริการen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleพัฒนาการทางนโยบายของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativePolicy development of universal coverage in Thailanden_US
dc.identifier.callnoW275.JT3 อ629พ [2546]en_US
dc.identifier.contactno46ข101en_US
dc.subject.keywordUniversal Health Coverageen_US
dc.subject.keywordHealth careen_US
dc.subject.keywordHealth care financingen_US
dc.subject.keywordการสร้างหลักประกันสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordนโยบายสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordระบบประกันสุขภาพth_TH
dc.subject.keywordการจัดบริการสาธารณสุขth_TH
dc.subject.keywordการเงินการคลังเพื่อจัดบริการสาธารณสุขth_TH
.custom.citationอำพล จินดาวัฒนะ, Amphon Jindawatthana, สุรณี พิพัฒน์โรจนกมล and Suranee Pipatrotchanakamol. "พัฒนาการทางนโยบายของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1557">http://hdl.handle.net/11228/1557</a>.
.custom.total_download102
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs1073.pdf
Size: 742.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record