Show simple item record

Subdistrict administrative organization's role toward public health and environmental development in Nongkhai province

dc.contributor.authorศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดลen_US
dc.contributor.authorSiriwat Tiptaradolen_US
dc.contributor.authorสมปอง จันทพันธ์en_US
dc.contributor.authorบัน ยีรัมย์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:25Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:32:31Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:25Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:32:31Z
dc.date.issued2540en_US
dc.identifier.otherhs0181en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1558en_US
dc.description.abstractองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) กับการพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จังหวัดหนองคาย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ที่เป็นอยู่ขององค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในเขตจังหวัดหนองคายในการพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดยเลือก อบต.ที่เริ่มดำเนินการในปี 2538 และ 2539 รวม 6 แห่ง โดยใช้แบบสัมภาษณ์กลุ่มสมาชิก อบต.ทุกคน รวม 179 คน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ทุกคน รวม 21 คน และประชาชนที่ถูกสุ่มแบบมีระบบรวม 1,065 คน ผลการวิจัยพบว่า อบต.ทั้ง 6 แห่ง ยังไม่มีผู้รับผิดชอบงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะ ไม่มีแผนใช้จ่ายงบประมาณด้านสาธารณสุขในปี 2539-2540 มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิก อบต.ร้อยละ 11.8 สมาชิก อบต.มีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร้อยละ 70.4 โดยเฉพาะช่วยเสนอข่าวสารสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมมากที่สุด (ร้อยละ 31.0) สมาชิก อบต.ร้อยละ 53.1 เห็นว่าควรรับสถานีอนามัย (สอ.) ไปขึ้นตรงต่อ อบต. เหตุผลส่วนใหญ่เพราะเห็นว่าง่ายและสะดวกในการประสานงาน (ร้อยละ 29.5) ผู้ที่ตอบว่าไม่ควรรับ สอ.ไปขึ้นตรงต่อ อบต.ร้อยละ 27.9 เหตุผลส่วนใหญ่เพราะว่า อบต.ยังไม่พร้อมด้านงบประมาณ (ร้อยละ 48.0) แต่ส่วนใหญ่ก็เห็นว่างานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมควรเป็นความรับผิดชอบร่วมกันระหว่าง สอ. และ อบต. ร้อยละ 57.5 เห็นว่าควรมีฝ่ายที่รับผิดชอบงานสาธารณสุขโดยเฉพาะใน อบต.ร้อยละ 31.1 อบต.ควรจัดสรรงบประมาณให้ สอ.ตามโครงการที่เสนอไปร้อยละ 45.0 ควรมีผู้รับผิดชอบงานสาธารณสุขโดยเฉพาะใน อบต.ร้อยละ 52.2 ในส่วนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำ สอ.พบว่า ทราบบทบาทหน้าที่ของ อบต.ร้อยละ 76.2 แต่สามารถบอกบทบาทตามกฎหมายได้ครบเพียงร้อยละ 4.8 เคยทำงานและร่วมกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขกับ อบต.ร้อยละ 76.2 ส่วนน้อยเห็นว่า สอ.ควรขึ้นกับ อบต.ร้อยละ 14.3 ส่วนของประชาชน ส่วนใหญ่รู้จัก อบต.ร้อยละ 94.6 ส่วนน้อยทราบว่า อบต.มีบทบาทเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย (ร้อยละ 42.7) โดยเฉพาะบทบาทในการจัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันโรคร้อยละ 46.5 แต่ส่วนใหญ่ก็เห็นว่า อบต.ควรดำเนินการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยร้อยละ 66.6 และเห็นว่าควรดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและการป้องกันโรคมากที่สุด (ร้อยละ 39.4) ส่วนใหญ่เห็นว่า สถานีอนามัยควรขึ้นกับกระทรวงสาธารณสุขเหมือนเดิมร้อยละ 33.5 เหตุผลเพราะการปฏิบัติงานที่ผ่านมาดีอยู่แล้ว (ร้อยละ 87.7) จากผลการวิจัยนี้พบว่า อบต.ยังไม่พร้อมในการจัดการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ควรเป็นหน้าที่ของสถานีอนามัยเป็นหลัก อบต.สนับสนุนด้านงบประมาณตามโครงการที่เสนอไป หากพร้อมทุกด้านแล้วอาจดำเนินการด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มที่ต่อไปen_US
dc.format.extent2621696 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคายen_US
dc.subjectPublic Health Administration -- Nongkhai provinceen_US
dc.subjectการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขen_US
dc.titleองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)กับการพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จังหวัดหนองคายen_US
dc.title.alternativeSubdistrict administrative organization's role toward public health and environmental development in Nongkhai provinceen_US
dc.description.abstractalternativeSubdistrict administrative organization's role toward publichealth and environmental development in Nongkhai provinceThis study aimed to study the situation of Subdistrict Adminisrative Organization (S.A.O.) in Nongkhai Province about Public Health and Environmental Development. 6 S.A.O. established in 1995 and 1996 were selected for this study. Data were collected by interviewing every member of S.A.O., every local health Staff, and systematic-sampling villagers. There were 179 member of S.A.O.,21 local health staffs and 1,065 villagers were Interviewed. The study found that all of 6 S.A.O. has no staff whom directly responsed to public Health and Environmental Development. There was no budget spent on public health during fiscal year 1996-1997. Among 179 member of S.A.O., 11.8 percent of them were working as village health volunteer as well. 70.4 percent of them participated in health and environment activities, especially in health information communication. More than half of them (53.1 percent) suggested that Health Centers should under supervision of S.A.O. with the major reason of for case and convenience in co-ordination. However, 27.9 percent has controversy idea giving the readon that S.A.O. is not well prepare in budgeting. Most of them (57.5 percent) think that health and environmental development should be share-responsibility between Health Centers and S.A.O.. 45.0 percent of them suggested that S.A.O. should provide budget to Health Centers in Health and Environmental Development. About half of them suggested that S.A.O. should have staff directly response to health and environmental, and 31.1 percent suggested that it should have health section in S.A.O.. Among 21 local health staffs, 76.2 percent of them know about the role and functions of S.A.O.. However, only 4.8 percent can mention all legally role and functions of S.A.O., but only 42.7 percent know that S.A.O. has play role in Health, especially in environmental management and disease prevention. Most of villagers (66.6 percent) suggested that S.A.O.should play role in health, especially in environment and disease prevention. About one-third (33.5 percent) think that Health Centers should still under supervision of Ministry of Public Health, giving the reason of satisfied performance. The study revealed that S.A.O. was not ready in health and environment management. It should still be responsibility of Health Centers, and S.A.O. provide budget support according to plan. S.A.O. might pay role in health and environmental inplementation if they are more prepared.en_US
dc.identifier.callnoWA541 ศ237ร 2540en_US
dc.subject.keywordNongkhaien_US
dc.subject.keywordองค์การบรหิารส่วนตำบลen_US
dc.subject.keywordการพัฒนาสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subject.keywordหนองคายen_US
.custom.citationศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล, Siriwat Tiptaradol, สมปอง จันทพันธ์ and บัน ยีรัมย์. "องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)กับการพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จังหวัดหนองคาย." 2540. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1558">http://hdl.handle.net/11228/1558</a>.
.custom.total_download57
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs0181.pdf
Size: 2.877Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record