แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

พันธกิจ สวรส ในการตอบสนองเป้าประสงค์ในอนาคต พ.ศ.2548-2552

dc.contributor.authorฉัตรวรัญ องคสิงห์th_TH
dc.contributor.authorChatwarun Ongkasingen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:36Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:19:20Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:36Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:19:20Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1190en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1584en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก: รายงานผลการศึกษาพันธกิจ สวรส ในการตอบสนองเป้าประสงค์ในอนาคต พ.ศ.2548-2552th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้แนวคิดพันธกิจสำหรับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) ที่จะตอบสนองต่อเป้าหมายในอนาคตในระยะ 5 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2548-2552) เพื่อนำผลที่ได้มาเสนอเป็นกรอบทางเลือกเบื้องต้นให้กับคณะกรรมการ สวรส. ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดพันธกิจ ผู้วิจัยได้ใช้หลักการของการมองอนาคต (foresight) และการศึกษาพันธกิจของ สวรส. จากอดีตถึงปัจจุบันพร้อมผลงานต่างๆ ในแต่ละยุคสมัยของ สวรส.(พ.ศ.2540-2546) นำมากำหนดกรอบคำถามในการสัมภาษณ์ระดับลึกผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้แก่ นักวิชาการ ผู้กำหนดนโยบายด้านสาธารณสุข ผู้บริหารทางด้านสุขภาพ และผู้ให้บริการด้านสุขภาพ จำนวนทั้งสิ้น 20 ท่าน ในประเด็นที่เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน แนวโน้มและความไม่แน่นอนทางด้านสังคม เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและการเมือง ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันสำคัญที่จะมีผลกระทบต่อระบบสุขภาพของประชาชนในอนาคต ในการแปลผล ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้รับจากการสัมภาษณ์มาสังเคราะห์ แล้วนำมาจัดเป็นโครงเรื่องของภาพอนาคตที่มีความสามารถในระดับหนึ่งในการสะท้อนถึงพันธกิจของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขในอีก 5 ปีข้างหน้าและนำประเด็นที่เป็นความเหมือน และความแตกต่างมาสรุปเป็นภาพอนาคต 3 ภาพ ดังนี้ สวรส.เป็นองค์กรสร้างความรู้และจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศ โดยเป็นองค์กรที่สร้างความรู้เพื่อชี้นำและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับวิสัยทัศน์ ความคิด และทิศทางของสังคม และเป็นองค์กรที่ทำงานวิจัยเพื่อส่งเสริมและกระตุ้นวัฒนธรรมการเรียนรู้ของชุมชน ตลอดจนการใช้ความรู้เพื่อการตัดสินใจในการทำงานด้านระบบสุขภาวะของประชาชน ในภาพนี้ สวรส. ยังคงสร้างงานวิจัย นักวิจัย และผู้ที่นำผลงานวิจัยไปสู่การปฏิบัติ เน้นการสร้างนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่ดีกว่า สวรส.เป็นองค์กรวิชาการที่มีการบริหารจัดการนำความรู้ไปใช้ในเชิงระบบ โดย สวรส.เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาวะในเชิงระบบและสร้างกระแสการเปลี่ยนแปลงที่มีโครงสร้างรองรับด้วยการบริหารจัดการเชิงระบบ และทำหน้าที่เป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการสร้างกลไกเชื่อมโยงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้ปฏิบัติการในทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงระบบสุขภาพ ในภาพนี้เน้นการใช้ทรัพยากรให้สอดคล้องกับความเป็นจริง ผลักดันความรู้และงานวิจัยให้เป็นนโยบายสาธารณะ โดยอาศัยความร่วมมือจากองค์กรหุ้นส่วน สวรส.เป็นองค์กรที่สร้างความเข้มแข็งให้กับภาคประชาชนในเชิงวิชาการ มุ่งให้ประชาชนดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองโดยมีฐานความรู้จากงานวิจัยเชิงระบบที่ถูกนำไปย่อยให้ง่าย สะดวกต่อการนำไปใช้ และประชาชนทั่วไปหรือหน่วยงานองค์กรต่างๆ สามารถนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรในการพัฒนาประเทศ เน้นการส่งเสริมสนับสนุนการสร้างความรู้ไปพร้อมกับกิจการการผลักดันการเคลื่อนไหวของสังคมและภาคส่วนต่างๆ เป็นผู้สนับสนุนและจุดประกายให้องค์กรท้องถิ่นเพิ่มศักยภาพในการทำวิจัยระบบสุขภาพด้วยตนเองเน้นการสร้างเครือข่ายการทำงานแบบพหุภาค โดยให้ความสำคัญกับงานวิจัยในระดับองค์กรภาคประชาชน และเป็นตัวกลางสำคัญในการติดต่อให้ภาคองค์กรประชาชนจับมือร่วมกับเอกชนในการสร้างองค์ความรู้ร่วมกันth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent690615 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Administrationen_US
dc.subjectHealth Policyen_US
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขen_US
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System)th_TH
dc.titleพันธกิจ สวรส ในการตอบสนองเป้าประสงค์ในอนาคต พ.ศ.2548-2552th_TH
dc.title.alternativeHSRI mission and strategy development process study for goal achievement in the future 2005-2009en_US
dc.description.abstractalternativeThis report is an outcome of the study on how the Health Systems Research Institute (HSRI) obligates and would respond to its 5-year future purposes. It also is the product of a study process that would be put together to lay a 3-year necessity plans (2005-2007). From trends and driving forces, the researcher has used a ‘Foresight’ strategy to lay future scenarios. In-depth interviews with 20 public health management and services experts were conducted. The interviews were integrated and have given 3 summaries. They are:HSRI is an organization which creates and manages knowledge for the country’s development.Although this role is taken as a systematic organization, but because of changes occurring both inside and outside of the country, HSRI should administrate more on knowledge gained, researches and its management so the information could be converted into policies and actions. Linkage between knowledge found and how they could be implemented must not be separated. Missing linkage, which is how knowledge and research outcome should be handled so the country’s public welfare is profited, must be handled. It is important to link and empower scholarly research before they are systematically applied or be made policies. This links to:2. HSRI is an organization which manages knowledge systematically. The organization signifies knowledge management by pushing for a public policy, manage its structure and find networks and partnerships along with building knowledge and research.HSRI is an organization built for the public’s strenghten knowledge. It emphasizes on the public’s self-reliance and participation in knowledge and research buildup. The three summaries reflect that HSRI is the country’s mechanism and think tank for the health system. This is an organization which could accurately forecast changes or adjustment in policy. It could supply information for those provide knowledge and research-result for the public, such as government sectors, networks or institutes so they could create specific and direct research according to the social needs. It also acts as a well-defined information center to help reduces investment risk for the private sectors thus, could produce or add more value to the country as a whole.Moreover, other organizations could use the knowledge HSRI provides to build up understanding and manage conflicts that might arise among them.en_US
dc.identifier.callnoWA525 ฉ239พ 2003en_US
dc.identifier.contactno47ข048en_US
dc.subject.keywordHSRI missionen_US
dc.subject.keywordพันธกิจ สวรสen_US
dc.subject.keywordการพัฒนาพันธกิจและวิสัยทัศน์en_US
.custom.citationฉัตรวรัญ องคสิงห์ and Chatwarun Ongkasing. "พันธกิจ สวรส ในการตอบสนองเป้าประสงค์ในอนาคต พ.ศ.2548-2552." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1584">http://hdl.handle.net/11228/1584</a>.
.custom.total_download22
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1190.pdf
ขนาด: 926.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย