dc.contributor.author | ชาติชาย มุกสง | th_TH |
dc.contributor.author | Chatchai Muksong | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:20:42Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:35:45Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:20:42Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:35:45Z | |
dc.date.issued | 2546 | en_US |
dc.identifier.other | hs1037 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1597 | en_US |
dc.description.abstract | สิ่งที่ขาดหายไปในการแพทย์และสาธารณสุขไทย แต่ทุกคนจะไม่ค่อยรู้สึกก็คือ มิติทางประวัติศาสตร์ เนื่องเพราะสังคมไทยยังขาดการทำความเข้าใจความสัมพันธ์ของการแพทย์และสาธารณสุขในเชิงสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจอยู่มาก การแพทย์และการสาธารณสุขในสังคมไทยจึงเป็นแค่เรื่องของเทคโนโลยีเสียส่วนใหญ่ รายงานวิจัยนี้มุ่งสำรวจงานเขียนและงานศึกษาวิจัยด้านประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทยทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นการกำหนดสถานะขององค์ความรู้และประมวลสถานภาพขององค์ความรู้เกี่ยวกับการแพทย์และสาธารณสุขไทย อันจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาและกำหนดทิศทางการศึกษาต่อไป ผลการศึกษาพบว่าถึงแม้จะมีงานเขียนที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขทั้งที่เขียนโดยแพทย์และนักวิชาการสาธารณสุขหรือนักสังคมศาสตร์มีเป็นจำนวนมากพอสมควรก็ตาม แต่ก็ปรากฏว่างานส่วนใหญ่เป็นแค่การเรียบเรียงหรือบรรยายเหตุการณ์ตามลำดับเวลาที่ขาดพลวัตของการอธิบาย มากกว่าจะเป็นการศึกษาที่มีการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแพทย์และการสาธารณสุขด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งต้องอาศัยการตีความและให้คำอธิบายกับเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งแสดงให้เห็นว่านอกจากการศึกษาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่มีน้อยแล้ว วิธีการศึกษายังมีการพัฒนาน้อยไปเสียกว่าอีกด้วย สถานะองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทยที่ศึกษาเน้นประเด็นสำคัญ 2 เรื่อง คือ การพัฒนาของการแพทย์แผนปัจจุบัน และเรื่ององค์ความรู้และการเปลี่ยนแปลงของการแพทย์แผนโบราณในบริบทสังคมไทย ทั้งยังพบว่าประเด็นข้อถกเถียงเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การแพทย์นั้น หมกมุ่นอยู่กับประเด็นสำคัญอยู่แค่เพียงการล่มสลายของการแพทย์แผนโบราณและการสถาปนาการแพทย์แผนใหม่ในสังคมไทย ผลสำเร็จของการพัฒนาของการแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทยทำให้การแพทย์สมัยใหม่มีอำนาจเป็นกระแสหลักของสังคมไทยที่ยังขาดการวิเคราะห์และวิจารณ์ ประวัติศาสตร์การแพทย์ของสถาบันหรือบุคคลที่มีส่วนในการพัฒนาการแพทย์โดยอิงอยู่กับการเขียนประวัติศาสตร์ที่ใช้ทฤษฏีมหาบุรุษและราชาชาตินิยม ยังขาดการศึกษาประวัติศาสตร์การแพทย์ที่เชื่อมโยงกับพัฒนาการด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของสังคมไทย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 877643 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Medicine--History--Thailand | en_US |
dc.subject | Public Health--History--Thailand | en_US |
dc.subject | การแพทย์--ประวัติศาสตร์--ไทย | en_US |
dc.subject | สาธารณสุข--ประวัติศาสตร์--ไทย | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | สถานะและองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Review of Current Knowledge on the history of medicine and public health in Thailand | en_US |
dc.description.abstractalternative | Historical dimension has been a missing aspect in studies on medicine and health development in Thailand. This was partly because the interrelation between health and its socio-political contests was not adequately appreciated. History of medicine and public health in Thai society was understood merely as a chronology of medical technological advancement and the growth of state medical service. This study explores works in the field of Thai medical and public health history both in Thai and English languages. It aims at assessing the state of knowledge and suggesting directions for further studies in medical and public health history in Thailand. The study found that although there were a number of studies in medical and public health history done by physicians, pubic health export, and social scientists, most of the works only compiled and listed the chronologies of events. They didn’t adequately provide historical explanation or interpretation of the events. Such studies failed to create new understanding on the medical history in Thailand. Not only new historical knowledge has been absent, but there was a lacking of the development of relevant methodology in medical historical study. Historical writings in the early period were mostly done by medical or public health professionals in an attempt to “construct their own discourses.” The changing of Thai political landscape after October 14, 1973, has led to the new area of historical knowledge. Medical and public health history was no exception. New interpretation of health and medical history was created within the contests of pro-democratic movement. Although various new sociological and historical methodologies were gradually developed and used, it was only in the past decade that greater interest in historical methodology and historiography has gained currency resulting in a building up of new knowledge of the Thai medical past. The current state of knowledge in Thai medical history focused on two main issues. The first concerned with the evolution and domination of modern medicine. The second issue was in the changes and discontinuity of traditional Thai medicine. The repetitive theme was mainly on the decline of traditional medicine and the success of modern medicine which has become mainstream and increasingly dominant in Thai society. There was a lack of critical scrutiny of medical institutions and historical figures. This was partly because of the adherence to writing history with the framework of the Great Man and the royal nationalism theory. There was a need to put more emphasis on understanding medical history as related to social, cultural, and political circumstances. | en_US |
dc.identifier.callno | WZ70.JT3 ช518ส 2546 | en_US |
dc.identifier.contactno | 45ค005 | en_US |
dc.subject.keyword | History of Medicine | en_US |
dc.subject.keyword | History of public Health | en_US |
dc.subject.keyword | การแพทย์ไทย | en_US |
dc.subject.keyword | การสาธารณสุขไทย | en_US |
.custom.citation | ชาติชาย มุกสง and Chatchai Muksong. "สถานะและองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1597">http://hdl.handle.net/11228/1597</a>. | |
.custom.total_download | 290 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 28 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 3 | |