แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การสร้างเสริมสุขภาพกําลังพล กรมยุทธบริการทหารและครอบครัว

dc.contributor.authorกมลพร สวนสมจิตรen_US
dc.contributor.authorKamonman Suansomchirten_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:44Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:24Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:44Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:24Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0769en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1601en_US
dc.description.abstractการสร้างเสริมสุขภาพกำลังพลกรมยุทธบริการทหาร และครอบครัว โครงการสร้างเสริมสุขภาพกำลังพล กรมยุทธบริการทหารและครอบครัว เป็นโครงการนำร่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการ วัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยมุ่งหวังให้กำลังพลและครอบครัวมีสุขภาพดีขึ้น สามารถทำงานได้อย่างมีความสุข และปลอดภัย มีครอบครัวที่อบอุ่น และปราศจากปัญหายาเสพย์ติดในชุมชนของตน โดยให้กำลังพล และครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมในโครงการให้มากที่สุด มีกำลังพลเข้าร่วมโครงการ 997 คน และสมาชิกในครอบครัวรวม 1,227 คน การวิจัยโครงการนี้ ทำการประเมินผลโดยเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มเป้าหมาย ๓ กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหาร กำลังพล และ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพกำลังพล โดยใช้วิธีตอบแบบสอบถาม สุ่มสัมภาษณ์ และการจัดกิจกรรมเพื่อระดมวิสัยทัศน์หาปัญหา และแนวทางแก้ปัญหาของกำลังพล ร่วมกับการสำรวจสิ่งแวดล้อมทางกายภาพบริเวณสถานที่ทำงาน และที่พักอาศัย รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลหลังการดำเนินโครงการ 1 ปี สามารถทำได้สำเร็จตามขั้นตอนที่กำหนดภายในกรอบระยะเวลาตามแผนทั้ง 18 ขั้นตอน พบการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 กลุ่ม ดังนี้ กำลังพลมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพดีขึ้น พฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนแปลงในด้านดีขึ้น เช่น การสูบบุหรี่เดิมร้อยละ 26.90 ลดลงเหลือร้อยละ 24.82 ผลการตรวจสุขภาพประจำปีมีแนวโน้มดีขึ้น เช่น ผู้มีน้ำหนักเกินร้อยละ 18.21 เหลือร้อยละ 9.43 ผู้เป็นโรคอ้วนเดิมร้อยละ 4.07 เหลือร้อยละ 2.86 ผู้ที่มีไขมันในเลือดสูงเดิมร้อยละ 11.27 เหลือร้อยละ 10.36 ผู้บริหารมีการปรับปรุงด้านสวัสดิการ การป้องกันอุบัติเหตุ และเปลี่ยนแปลงนโยบาย กฎ ระเบียบ ของหน่วยงานที่เอื้อต่อสุขภาพ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ได้ปรับปรุงการบริการเป็นเชิงรุก เพิ่มการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคแทนการตั้งรับส่วนใหญ่รักษาพยาบาลผู้ป่วยอยู่ที่ห้องตรวจโรคเช่นเดิม ผลการวิจัยโครงการนี้สามารถนำมาเผยแพร่ขยายผลใช้เป็นแนวทางสร้างเสริมสุขภาพกำลังพลหน่วยอื่นของกองทัพไทยได้ต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent5711256 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสํานักงานแพทย์ทหาร สํานักงานผู้บัญชาการทหารสูงสุดen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectHealth Planning Oranizationen_US
dc.subjectHealth Planning Supporten_US
dc.subjectHealth Personnelen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.titleการสร้างเสริมสุขภาพกําลังพล กรมยุทธบริการทหารและครอบครัวen_US
dc.title.alternativeHealth Promotion in the Support Services Department's Personel and their Familiesen_US
dc.description.abstractalternativeHealth Promotion in the Support Services Department’s Personnel and their Families The pilot project of health promotion for the military personnel in the Support Services Department and their families is aimed for altering health behavior, physical environment and social environment. The expectations are hoping them to have better health, delightful office work, warm families and peaceful community without temptation by letting the personnel and member of their families to take part in the activities as much as possible. There were 997 personnel and 1,227 member of their families took part in this program. The research was assessed by comparing the variation in 3 target groups which are administrators, military personnel and medical staffs, whose in charge of looking after their health, by hold on interview and answer questionnaires collaborating with the activities for brain storming in searching problems and answers, including physical environment survey around their office and their living area. After collecting data for 1 year, the project was succeeded according to the 18 steps plan. 3 target groups were identified as follows: the military personnel has better knowledge how to keep healthy e.g., smoking was reduced from 26.90% to 24.82%; health problem survey is improving e.g., excess BMI was reduced from 18.21% to 9.43%, high blood lipid was down from 11.27% to 10.36%; the administrators decided to improve their welfare, accident prevention and alter policy, rules and orders facilitating healthiness. The promising result from this research can be used as a guideline promoting health to a military personnel at any other Thai Armed Forces’ units.en_US
dc.identifier.callnoWA540 ก136ก 2544en_US
dc.subject.keywordกรมยุทธบริการทหารen_US
dc.subject.keywordการป้องกันโรคen_US
.custom.citationกมลพร สวนสมจิตร and Kamonman Suansomchirt. "การสร้างเสริมสุขภาพกําลังพล กรมยุทธบริการทหารและครอบครัว." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1601">http://hdl.handle.net/11228/1601</a>.
.custom.total_download67
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0769.pdf
ขนาด: 3.372Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย