แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย

dc.contributor.authorกฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์th_TH
dc.contributor.authorKrit Pongpirulen_US
dc.contributor.authorอนุวัฒน์ ศุภชุติกุลth_TH
dc.contributor.authorจิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์th_TH
dc.contributor.authorAnuwat Supachutikulen_US
dc.contributor.authorJiruth Sriratanabanen_US
dc.contributor.authorสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.contributor.authorInternational Health Policy Programen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:50Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:38:59Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:50Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:38:59Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1194en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1616en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก: รายงานผลการศึกษาระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยth_TH
dc.description.abstractปัจจุบันมีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการดูแลรักษาและให้บริการในโรงพยาบาลต่างๆ ในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการจัดทำรายงานประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการประกันสุขภาพต่างๆ โดยที่ยังไม่แน่ชัดว่ามีความสัมพันธ์กับคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยซึ่งกำลังได้รับความสำคัญมากน้อยเพียงใด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการใช้ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์และคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย โดยได้แบ่งออกเป็น 4 ระยะ คือ 1. การทบทวนเอกสารทางวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. การสำรวจข้อมูลโรงพยาบาลทั่วประเทศ 3. การศึกษามุมมองของผู้เกี่ยวข้องและ 4. การวิเคราะห์เชิงลึกระบบที่ได้รับความนิยม ประเด็นสำคัญที่ได้จากการศึกษา พบว่าโรงพยาบาลในประเทศไทยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉพาะโรงพยาบาลขนาดใหญ่และโรงพยาบาลเอกชน ได้นำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการรายงานเป็นสำคัญ ปัจจุบันมีการใช้ระบบอย่างน้อย 44 ชนิดที่แตกต่างกันและไม่สามารถเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก การลงทุนเป็นจำนวนมหาศาลในเรื่องระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลต่างๆ ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าจะมีความคุ้มค่ามากน้อยเพียงใด เมื่อเทียบกับปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบสุขภาพ ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงความเสี่ยงทางคลินิกต่อผู้ป่วยที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้คอมพิวเตอร์ ปัญหาสำคัญที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขปรับปรุง ได้แก่ ความไม่พร้อมของระบบ โดยเฉพาะทรัพยากรบุคคล ทั้งในเชิงคุณภาพและปริมาณ ในขณะที่ระบบที่มีอยู่ยังไม่สามารถจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก นอกจากนี้หน่วยงานส่วนกลางหลายแห่งยังมีปัญหาในการประสานงาน ผู้ให้บริการจึงยังคงต้องจัดการแก้ไขปัญหาด้วยตนเองภายใต้ข้อจำกัดในเรื่องทรัพยากรและความเข้าใจth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1735434 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Service Systemen_US
dc.subjectHospital Infromation Systemsen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectสารสนเทศen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยth_TH
dc.title.alternativeComputerized information system in hospital and quality of careen_US
dc.description.abstractalternativeInformation system of most hospitals in Thailand have increasingly been computerized mainly to improve administrative works without adequate concerns about quality of care. This study aims to explore major issues related with the use of computerized information system in hospital and quality of care. There were 4 phases: literature review, hospital survey, stakeholder analysis, as well as in-depth analysis of some famous systems. It was found that information system in at least 80% of the hospitals, especially private and large public hospitals were already computerized. Report production for various health insurance systems was the major reason. At least 44 different systems were available in Thailand without appropriate and effective information exchange mechanism both nationally and locally. IT-related investments by hospitals were found to be quite large despite the lack of evidence to prove their return. In addition, many problems including IT-related clinical risks were not efficiently taken care of. Nationally, the most important problem was hospital readiness, especially the inadequacy and poor competency of IT-related healthcare personnel. Moreover, the inefficiency of cooperation among central organizations forced most hospitals to solve major problems with their limited resource and comprehension.en_US
dc.identifier.callnoW26.5.D2 ก281ร 2548en_US
dc.identifier.contactno46ค077en_US
dc.subject.keywordComputerized information systemen_US
dc.subject.keywordquality of careen_US
dc.subject.keywordระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์en_US
dc.subject.keywordคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยen_US
.custom.citationกฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์, Krit Pongpirul, อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล, จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์, Anuwat Supachutikul, Jiruth Sriratanaban, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ and International Health Policy Program. "ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1616">http://hdl.handle.net/11228/1616</a>.
.custom.total_download206
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year13
.custom.downloaded_fiscal_year3

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1194.pdf
ขนาด: 2.556Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย