Show simple item record

Evaluation of the use of water supply by Provincial Waterworks Authority in Ronphibun sub-district

dc.contributor.authorอภิรดี แซ่ลิ่มth_TH
dc.contributor.authorAptradee Saelimen_US
dc.contributor.authorมะเพาซิส ดือราวีth_TH
dc.contributor.authorวิชาญ นิ่งน้อยth_TH
dc.contributor.authorMapaosis Dueraweeen_US
dc.contributor.authorWichan Ningnoien_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:20:56Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:55Z
dc.date.available2008-12-04T05:20:56Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:55Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.otherhs1070en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1633en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การประเมินการใช้น้ำประปาส่วนภูมิภาคของประชาชนในพื้นที่ ต.ร่อนพิบูลย์th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินปริมาณการใช้น้ำต่อคนและต่อครัวเรือน เพื่อประเมินความเพียงพอต่อความต้องการในการใช้น้ำประปา และเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณ การใช้น้ำประปาส่วนภูมิภาคของประชาชนในพื้นที่ตำบลร่อนพิบูลย์ สำรวจครัวเรือนในช่วงเดือนมีนาคม-กันยายน พ.ศ. 2546 จำนวน 501 หลังคาเรือน และนำข้อมูลมาเชื่อมกับฐานข้อมูลการใช้น้ำประปาจากสำนักงานประปานครศรีธรรมราชย้อนหลัง 4 ปี คือ พ.ศ. 2542 – 2545 ผลการศึกษาพบว่า น้ำประปาถูกนำมาใช้ในการดื่มเพียงร้อยละ 5 หุงต้มร้อยละ 32 ส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 90 ของครัวเรือนใช้ในด้านการซักล้าง ปริมาณการใช้น้ำประปาในหมู่ที่ 2 12 และ 13 เท่ากับ 89 134 และ 147 ลิตรต่อคนต่อวัน ตามลำดับ มากกว่าร้อยละ 95 ของครัวเรือน รายงานว่าน้ำประปาส่วนภูมิภาคมีเพียงพอต่อความต้องการ ปริมาณการใช้น้ำประปาส่วนภูมิภาคขึ้นอยู่กับปีที่ใช้น้ำ ลักษณะพื้นที่ ลักษณะบ้าน สถานะการเป็นเจ้าของบ้าน จำนวนสมาชิกในบ้าน ความพอใจในราคาน้ำประปา และการมีน้ำฝนใช้ โดยพบว่าปี 2542 และพื้นที่หมู่ 13 มีการใช้น้ำประปาสูงสุด บ้านเดี่ยวมีปริมาณการใช้น้ำประปาต่อครัวเรือนสูงกว่าห้องแถวไม้หรือตึกแถว บ้านที่เป็นของตนเอง และบ้านพักราชการมีปริมาณการใช้น้ำประปาสูงกว่าบ้านเช่า ครัวเรือนที่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนมากกว่า 3 คนขึ้นไปมีปริมาณการใช้น้ำสูงกว่าครัวเรือนที่มีสมาชิกน้อยกว่า 3 คน ครัวเรือนที่ไม่พอใจราคาน้ำประปามีปริมาณการใช้น้ำสูงกว่าครัวเรือนที่พอใจราคาน้ำประปา และครัวเรือนที่ไม่เก็บน้ำฝนไว้ใช้มี ปริมาณการใช้น้ำประปาสูงกว่าครัวเรือนที่เก็บน้ำฝนไว้ใช้ สรุปผลการศึกษาได้ว่า พื้นที่หมู่ 2 12 และ 13 ตำบลร่อนพิบูลย์ มีปริมาณการใช้น้ำประปาอยู่ในระดับปานกลาง และปริมาณน้ำประปาส่วนภูมิภาคยังมีเพียงพอต่อความต้องการ ความเป็นเมือง ลักษณะบ้าน จำนวนสมาชิกในบ้าน ความพอใจในราคาน้ำประปา และการมีน้ำฝนใช้มีผลต่อปริมาณการใช้น้ำประปาth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent656562 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectWater Supplyen_US
dc.subjectNakhon Si Thammaraten_US
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพen_US
dc.subjectน้ำประปาen_US
dc.subjectนครศรีธรรมราชen_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleการประเมินการใช้น้ำประปาส่วนภูมิภาคของประชาชนในพื้นที่ ต.ร่อนพิบูลย์en_US
dc.title.alternativeEvaluation of the use of water supply by Provincial Waterworks Authority in Ronphibun sub-districten_US
dc.description.abstractalternativeThis study is a survey of the use of water supply by the Provincial Waterworks Authority among resident villagers in Ronphibun subdistrict. During March-September 2003, 501 households were surveyed. The computerized data of piped water use from the Nakhon Si Thammarat Piped Water Office were extracted for the year 1999-2002 and were linked together with a survey data. The objective of this study is to evaluate the amount of piped water use per capita and per household, to evaluate the adequacy of piped water supply and to identify the factor associate with piped water use. The results revealed that piped water was used for drinking in only 5% of households and cooking in 32%. Piped water was mostly used for other consumption purposes (>90%). The total amount of water use was 89, 134 and 147 liters/person/day, respectively. The amount of piped water use depended on year of use, urbanization, household’s characteristics, owner status, satisfaction of the price and storing rainwater for using. The study showed that piped water use was highest in the year 1999 and village 13. The amount of piped water use was higher in single houses, owned houses or government accommodations, households with more than 3 persons, dissatisfaction with piped water price and storing rainwater for using. In conclusion, the trend of piped water use among villages 2, 12 and 13 was and not high. Piped water from the Provincial Waterworks Authority was adequate. Urbanization, type of household, number of members in household, price of piped water satisfaction and use of stored rainwater influences the amount of piped water use.en_US
dc.identifier.callnoWA675 อ259ก [2546]en_US
dc.identifier.contactno45ค012en_US
dc.subject.keywordpiped wateren_US
.custom.citationอภิรดี แซ่ลิ่ม, Aptradee Saelim, มะเพาซิส ดือราวี, วิชาญ นิ่งน้อย, Mapaosis Duerawee and Wichan Ningnoi. "การประเมินการใช้น้ำประปาส่วนภูมิภาคของประชาชนในพื้นที่ ต.ร่อนพิบูลย์." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1633">http://hdl.handle.net/11228/1633</a>.
.custom.total_download115
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1070.pdf
Size: 908.7Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record