dc.contributor.author | สุพัตรา ศรีวณิชชากร | en_US |
dc.contributor.author | Supattra Srivanichakorn | en_US |
dc.contributor.author | ณัฐพร สุขพอดี | en_US |
dc.contributor.author | เยาวรัตน์ ศุภกรรม | en_US |
dc.contributor.author | รัตนา เกลี้ยงจิตรแผ้ว | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:21:01Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:49:32Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:21:01Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:49:32Z | |
dc.date.issued | 2541 | en_US |
dc.identifier.other | hs0364 | en_EN |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1647 | en_US |
dc.description.abstract | พฤติกรรม ประสบการณ์และค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพระนครศรีอยุธยา และความคิดเห็นต่อบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนเขตเมืองนครศรีอยุธยา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพและค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชากรที่อยู่ในเขตเมืองของจังหวัดอยุธยาและเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการใช้บริการกับค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชากรที่ไม่ได้อยู่ในเขตรับผิดชอบของศูนย์แพทย์ ปัจจัยด้านประชากรที่ใช้เลือกกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ความหนาแน่นของประชากร สถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ ระยะห่างระหว่างบ้านกับสถานบริการ และการลงทะเบียนกับศูนย์แพทย์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้มีทั้งหมด 704 ครัวเรือน คิดเป็น 1794 คน จากการศึกษาพบว่า 61.7% ของกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุตั้งแต่ 14 ปีขึ้นไปเป็นสมาชิกประกันสุขภาพของโครงการใดโครงการหนึ่ง ประชากรในพื้นที่ที่มีเศรษฐานะต่ำส่วนใหญ่เป็นสมาชิกโครงการสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล (สปร) โดยเฉลี่ย 85.6% ของกลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกโครงการประกันสุขภาพใดโครงการหนึ่ง ส่วนที่เหลือเป็นสมาชิกประกันสุขภาพตั้งแต่สองโครงการมากกว่า พฤติกรรมการซื้อยากินเองเป็นพฤติกรรมปรกติหากมีการเจ็บป่วยเล็กน้อย สำหรับผู้ที่เลือกรับบริการที่ศูนย์แพทย์ให้เหตุผลว่ามีความสะดวกในการเดินทาง การเลือกรับบริการจากโรงพยาบาลเอกชน ส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าต้องการรับบริการเฉพาะทาง สองในสามของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเป็นงานบริการจากภาคเอกชน การเจ็บป่วยที่พบสูงสุดจากการไปรับบริการที่ศูนย์แพทย์ คือ โรคเรื้อรัง ผู้รับบริการที่ศูนย์แพทย์มีความพึงพอใจการพูดคุยของผู้รับบริการและความเป็นกันเองของแพทย์ให้บริการ หากมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้น 26.2% ตอบว่าต้องการไปรับบริการจากคลีนิกเอกชน 24.5% ต้องการไปรับบริการที่โรงพยาบาลจังหวัด 19.7% ต้องการไปรับบริการจากศูนย์แพทย์ เหตุผลในการเลือกคือเรียงลำดับดังนี้ ความรวดเร็ว สะดวกสะบาย การสื่อสารที่ดี ราคาไม่แพง และหมอเก่ง การศึกษานี้เสนอแนะว่าศูนย์แพทย์ควรทำงานร่วมกับสถานบริการรัฐและเอกชนมากขึ้นเพื่อจะให้บริการที่ครอบคลุมตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงตติยภูมิได้ครบถ้วน และเสนอแนะให้มีการศึกษาพฤติกรรมจากหลายๆสถานบริการเพื่อทราบถึงพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของประชากรในทุกๆระดับของงานบริการ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 5690491 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.relation.ispartofseries | โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบบริการเวชปฏิบัตทั่วไปในประเทศไทย | en_US |
dc.subject | Family Practice | en_US |
dc.title | พฤติกรรม ประสบการณ์และค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองนครศรีอยุธยา และความคิดเห็นต่อบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนเขตเมืองนครศรีอยุธยา | en_US |
dc.title.alternative | Ayudthaya Metropolitan peoples' health utilization behaviour, experiences, health care expenditures, and their attitudes towards service delivery of medical center | en_US |
dc.description.abstractalternative | Ayudthaya Metropolitan Peoples’ Health Utilization Behavior, Experiences, Health Care Expenditures, and their Attitudes towards ServiceDelivery of Medical Center. People who lived in Ayudthaya Metropolitan were studied to understand their health care utilization behavior and their patterns of health expenditure so as to make comparison with the behaviors of those who lived outside the medical centers’ catchment area. Population factors for sampling in this study were various concentration, socio-economic status, distance to health facilities and whether the people were actually registered at the medical centers. 704 households or 1,794 people were chosen. According to the findings, 61.7% of the sampled population aging 14 or above were insured by any scheme of health insurance. In lower socio-economic area, the public health assistance scheme was mostly possessed. 85.6% of the selected population was insured by single health insurance scheme whereas the remaining was insured by two or more schemes. Self-drug use behavior was common for slight illness while convenient transportation was given for the most reason of those seeking care at the medical center. Private hospitals were largely selected as the first choice due to their specialization. Health care expenditures were various in ranges dependent upon where and what types of services were chosen; however, two-third of total expenditures were spent on private services. Chronic cases were reported highest in number at the medical centers. Most medical center users were satisfied with the providers’ communication and patient-provider relationship. When getting ill, 26.2%, 24.5%, and 19.7% of the population wanted to go to private clinics, the provincial hospital and the medical centers respectively. What the population firstly needed from the services was quick and convenient care. Good communication, price and well-skilled doctors came second, third and fourth respectively. The study suggested that the medical centers more closely work with both public and private facilities to provide increasingly comprehensive care and the multi-center study be taken in order to know overall health care utilization behaviors of the population irrespective of either micro or macro-scale level. | en_US |
dc.identifier.callno | W89 ส246ร 2541 | en_US |
dc.subject.keyword | ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | บริการศูนย์แพทย์ชุมชน | en_US |
dc.subject.keyword | บริการสุขภาพในท้องถิ่น | en_US |
dc.subject.keyword | บริการสุขภาพในเมือง | en_US |
.custom.citation | สุพัตรา ศรีวณิชชากร, Supattra Srivanichakorn, ณัฐพร สุขพอดี, เยาวรัตน์ ศุภกรรม and รัตนา เกลี้ยงจิตรแผ้ว. "พฤติกรรม ประสบการณ์และค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองนครศรีอยุธยา และความคิดเห็นต่อบริการของศูนย์แพทย์ชุมชนเขตเมืองนครศรีอยุธยา." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1647">http://hdl.handle.net/11228/1647</a>. | |
.custom.total_download | 115 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 8 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |