ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | en_US |
dc.contributor.author | วิชช์ เกษมทรัพย์ | en_US |
dc.contributor.author | สุวรรณา มูเก็ม | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-26T10:07:30Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-15T08:55:39Z | |
dc.date.available | 2008-09-26T10:07:30Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-15T08:55:39Z | |
dc.date.issued | 2543 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. 6,1(2543) : 72-80 | en_US |
dc.identifier.other | DMJ7 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/164 | en_US |
dc.description.abstract | ในประเทศไทย 76.7% ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-stage Renal Disease, ESRD) ไม่สามารถเข้าถึงบริการทดแทนไต เพราะเป็นบริการที่มีราคาแพงจนอาจทำให้ผู้ป่วยล้มละลาย (Catastrophic illiness) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยรายงานว่ามีผู้ป่วย ESRD ที่สามารถเข้าถึงบริการประมาณ 54.4 รายต่อล้านประชากร ในจำนวนนี้กว่าครึ่งในโรงพยาบาลรัฐ เป็นผู้ที่มีสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ สามารถใช้บริการฟอกเลือด การล้างช่องท้อง และเปลี่ยนไตได้ ผู้ประกันตนตามระบบประกันสังคมได้รับการคุ้มครองเฉพาะการฟอกเลือด 2 ครั้งต่อสัปดาห์และเบิกค่ารักษาได้ไม่เกินครั้งละ 1,500 บาท ทั้ง 2 ระบบครอบคลุมประชาชนที่มีสิทธิประมาณ 13 ล้านคน (7 ล้านคนในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และ 5 ล้านคนจากประกันสังคม) สำหรับผู้ป่วยที่ไม่ได้มีสิทธิ์ในสวัสดิการดังกล่าวก็ต้องหาทางช่วยเหลือตัวเอง ซึ่งส่วนใหญ่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และต้องเสียชีวิตในที่สุด ประมาณการความชุกของโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายทั้งที่เข้าถึง และเข้าไม่ถึงบริการทดแทนใดในประเทศไทยไว้ที่ 200 รายต่อล้านประชากร หรือประมาณ 12,000 คน จะมีผู้ป่วยไตวายที่มีระบบสวัสดิการคุ้มครอง (13 ล้านคน) ประมาณ 2,600 ราย ที่ได้รับการคุ้มครองบริการทดแทนไต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การฟอกเลือด ประชากรอย่างน้อยอีกประมาณ 9,400 ราย ซึ่งอยู่ภายใต้ คณะกรรมมาธิการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร ขอให้คณะกรรมการ กสปร.กลาง พิจารณาให้ผู้ป่วย สปร. ESRD เข้าถึงบริการฟอกเลือดได้ตามความเหมาะสม | en_US |
dc.format.extent | 595303 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ข้อเสนอเชิงนโยบาย | en_US |
dc.title | ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้มีรายได้น้อย | en_US |
dc.subject.keyword | บริการทดแทนไต | en_US |
.custom.citation | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, วิชช์ เกษมทรัพย์ and สุวรรณา มูเก็ม. "ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/164">http://hdl.handle.net/11228/164</a>. | |
.custom.total_download | 1660 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 10 | |
.custom.downloaded_this_year | 236 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 28 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ [161]
International Health Policy Program Foundation (IHPP)