Show simple item record

The health insurance development for the informal workers and their families

dc.contributor.authorทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิลth_TH
dc.contributor.authorThipaporn Phothithawilen_US
dc.contributor.authorศิริพร เกื้อกูลนุรักษ์th_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:10Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:39:49Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:10Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:39:49Z
dc.date.issued2546en_US
dc.identifier.otherhs0944en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1667en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาสภาวการณ์สุขภาพและการดูแลสุขภาพของประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัว (2) เพื่อค้นหาแนวทางการพัฒนาหลักประกันสุขภาพสำหรับประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัว ผลการศึกษา พบว่า แรงงานนอกระบบและครอบครัวยังขาดการดูแลสุขภาพในเชิงป้องกันและส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรงสมบูรณ์ แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ยังไม่มีหลักประกันสุขภาพ เมื่อเจ็บป่วยต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง โดยเฉพาะการป่วยที่มีอาการหนักและรุนแรง มีค่าใช้จ่ายสูง จะสร้างความเดือดร้อนให้กับแรงงานนอกระบบและครอบครัวเป็นอย่างมาก ส่วนสมาชิกในครอบครัวของแรงงานนอกระบบซึ่งได้แก่ เด็ก คนชรา ส่วนใหญ่ได้รับการคุ้มครองจากโครงการบัตรสวัสดิการประชาชนด้านการรักษาพยาบาล (บัตรสปร.) แนวทางการพัฒนาหลักประกันสุขภาพสำหรับประชาชนผู้ด้อยโอกาสโดยเฉพาะกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัว เพื่อให้ได้รับการคุ้มครองดูแลสุขภาพตามหลักสิทธิมนุษยชนและภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 จากผลการศึกษาครั้งนี้จะต้องยึดหลักความเสมอภาค เท่าเทียมและเป็นธรรม บริการมีคุณภาพ ประชาชนผู้ด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงบริการ มุ่งเน้นการซ่อมและสร้างสุขภาพไปพร้อมกัน หลักประกันสุขภาพดังกล่าวต้องเป็นหลักประกันสุขภาพที่มีความมั่นคงในระยะยาว สามารถให้การคุ้มครองสุขภาพแก่แรงงานนอกระบบและสมาชิกในครอบครัวได้อย่างยั่งยืน จึงจำเป็นต้องมีการบริหารจัดการที่ดี และมีกลไกเสริมให้การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพต้องมีองค์กรหลักที่สำคัญคือ องค์กรหลักด้านนโยบาย ด้านการบริหารกองทุน ด้านเครือข่ายสุขภาพ และด้านการควบคุมกำกับคุณภาพมาตรฐาน มีเครือข่ายผู้ให้บริการสุขภาพ ทั้งด้านการป้องกัน รักษาและส่งเสริม ซึ่งมาจากภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ภาคประชาชน แหล่งที่มาของรายได้หลักที่สำคัญคือ เงินภาษี ซึ่งจะนำไปเป็นค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองดูแลสุขภาพประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบ โดยได้รับสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานครอบคลุมการเจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ การตรวจสุขภาพประจำปี และให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรง มีกลไกการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยกลไกการตรวจสอบภายในและกลไกการตรวจสอบจากภายนอก ในเรื่องคุณภาพมาตรฐานบริการ และการใช้จ่ายเงินในการจัดหลักประกันสุขภาพ ตลอดจนให้แรงงานนอกระบบมีส่วนร่วมโดยเฉพาะการมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสุขภาพและพิทักษ์ปกป้องคุ้มครองสิทธิของตนเอง การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะคือ (1) ส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบและครอบครัวสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งในด้านการส่งเสริม ป้องกัน และรักษาสุขภาพเมื่อยามเจ็บป่วย (2) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกันแก้ไขปัญหาของแรงงานนอกระบบ (3) ส่งเสริมให้แรงงานนอกระบบมีการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายทางด้านสุขภาพ (4) รัฐจะต้องสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่แรงงานนอกระบบและครอบครัว โดยคำนึงถึงความเสมอภาค เท่าเทียมและเป็นธรรม (5) การบริหารจัดการหลักประกันสุขภาพ ควรมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพขององค์กรเดิมที่มีอยู่ โดยไม่ควรสร้างองค์กรใหม่เพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็น (6) หลักประกันสุขภาพควรสร้างทางเลือกที่หลากหลายให้แก่แรงงานนอกระบบ (7) ควรจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพของแรงงานนอกระบบและครอบครัวth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2714281 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectWorkers--Health Insuranceen_US
dc.subjectแรงงาน -- ประกันสุขภาพen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบประกันสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนาหลักประกันสุขภาพของประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัวth_TH
dc.title.alternativeThe health insurance development for the informal workers and their familiesen_US
dc.description.abstractalternativeThe Health Insurance Development for the Informal Workers and Their Families The objectives of this research are two fold. The first objective is to examine the health care situation and health care among the informal workers and their families. The second objective is to develop a proposed guideline for health insurance plans for the informal workers and their families.The study reveals that informal workers and their families still lack preventive health care and maintenance health care. The majority of them do not have health insurance and have to pay for medical care at their own expense, especially for costly severe illnesses and injuries. However, their family members who are elderly and children are covered under the Free Medical Cards. For these reasons, there should be health insurance plans for the underprivileged especially the informal workers and their families. They should be guaranteed health care in accordance with the Human Rights Act and the Thai Constitution of 1997, stating that all citizens are entitled to quality health care, both preventive and maintenance health care. Thus, health insurance plans provided must contain reliable long-term programs with competent and effective management. In order to achieve effective health insurance management, four components are required namely a policy component, a fund management component, a health care network component, and a quality assurance component. There must be a network of health care services for the people. The network should insure cooperation among the government, the private sector, the business sector and the people’s organizations. Tax revenues must be allocated to provide basic health care services for illness, child delivery, disability, annual physical examination, and health information for informal workers. Program monitoring mechanisms are needed to ensure quality health care, a high standard of services, and effective fund management. These mechanism should consist of both internal and external examiners. Informal workers should participate in the program, especially in preventive health care, and ensure their rights to health care services. In addition to the components mentioned above, effective health insurance management requires supportive laws, development of an information network, ongoing public relations programs, development of an appropriate taxation system, and establishment of organizations for informal workers. The following suggestions are herein proposed :Informal workers and their families should be encouraged to gain competence in preventive health care and during the time of illness or injury.The organizations concerned should take responsibility in solving health care problems for informal workers.Informal workers and their families should be encouraged to organize themselves and to form health care networks.The government must provide quality health insurance plans for informal workers and their families on the basis of equal rights.Health insurance management should emphasize the development and improvement of existing organizations rather than the establishment of new organizations unneccessarily.Health insurance plans should provide alternative programs.A health care database for informal workers and their families should be developed.en_US
dc.identifier.callnoW160 ท487ก 2546en_US
dc.identifier.contactno44ค011en_US
dc.subject.keywordหลักประกันสุขภาพen_US
.custom.citationทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล, Thipaporn Phothithawil and ศิริพร เกื้อกูลนุรักษ์. "การพัฒนาหลักประกันสุขภาพของประชาชนกลุ่มแรงงานนอกระบบและครอบครัว." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1667">http://hdl.handle.net/11228/1667</a>.
.custom.total_download159
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year11

Fulltext
Icon
Name: hs0944.pdf
Size: 2.903Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record