แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับประชาชน

dc.contributor.authorซำแก้ว หวานวารีen_US
dc.contributor.authorSumkaew Wanvareeen_US
dc.contributor.authorวิชัย เอกพลากรen_US
dc.contributor.authorพักตร์วิมล ประเสริฐen_US
dc.contributor.authorสุรเกียรติ อาชานานุภาพen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:11Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:39:24Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:11Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:39:24Z
dc.date.issuedม.ป.ป.en_US
dc.identifier.otherhs0133en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1671en_US
dc.description.abstractการสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับประชาชนการศึกษาครั้งนี้เป็นการสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารสุขภาพทั้งใน และต่างประเทศ ผลการศึกษาพบข้อสรุป ดังนี้คือ 1.การบริการข้อมูล(supply) ในต่างประเทศมีหลายช่องทาง ได้แก่ internet, audiotext, CD-ROM, web TV และ touch-screen computer/TV ปริมาณข้อมูล (quality) มีเป็นจำนวนมาก แต่ยังมีปัญหาด้านคุณภาพ (quantity) และการเข้าถึงข้อมูล (access) ของประชาชนในบางพื้นที่ องค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องในการพัฒนากำหนดเกณฑ์ มาตรฐานข้อมูล ส่วนในประเทศไทย website ทางด้านสุขภาพยังขาดแคลนทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ในขณะที่ audiotext มีผู้ให้บริการ 6 หน่วยงาน แต่กระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพฯและปริมณฑล สำหรับ CD-ROM ภาษาไทยมีเพียง 2 รายการเท่านั้น ส่วน webTV และ touch-screen computer/TV ยังไม่สามารถพัฒนาได้เนื่องจากมูลค่าการลงทุนสูง การดำเนินงานเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารสุขภาพในประเทศยังไม่มีการประสานงาน ระหว่างหน่วยงาน เป็นลักษณะที่ต่างฝ่ายต่างทำทั้งภาครัฐและเอกชน 2.ความต้องการข้อมูล (demand) ประเทศที่เจริญแล้วเช่นในสหรัฐอเมริกา ประชาชนมีความสนใจต้องการข้อมูลด้านสุขภาพ online ถึงร้อยละ 79 ลักษณะข้อมูลที่ต้องการมีความหลากหลายทั้งทางด้านโรค ยา และการประกันสุขภาพ ส่วนในประเทศไทยมีผู้สนใจข้อมูลสุขภาพผ่าน internet เพียงร้อยละ 37 ของผู้ใช้บริการ internet แต่มีผู้ใช้บริการ audiotext มากกว่า เนื่องจากราคาถูก สะดวกและไม่ต้องอาศัยทักษะทางคอมพิวเตอร์ หากระบบเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น ใช้ง่าย สะดวก น่าสนใจ และมีราคาถูก ประชาชนมีความตระหนัก เข้าใจ และมีประสบการณ์ว่า ข้อมูลสุขภาพมีประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมแล้ว ความต้องการข้อมูลดังกล่าวน่าจะเพิ่มขึ้น 3.โครงสร้างพื้นฐาน (infrastructure) ระบบ internet ในประเทศยังมีอุปสรรคในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารหลายประการ เช่น ความเร็วในการรับส่งข้อมูล (bandwidth) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และ modem ที่มีความเร็วสูง มีราคาแพง ปัญหาจำนวนและระบบโทรศัพท์ สายเคเบิล ขาดแคลนบุคลากรทางด้านคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทำข้อมูลสุขภาพและผู้ดำเนินการบริการข้อมูล (librarian/cybrarian) รวมทั้งผู้ใช้บริการที่ขาดความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวงสาธารณสุขถูกปรับเปลี่ยน เนื่องจากปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจทำให้โครงสร้างพื้นฐานทั้งระบบต้องชลอตัวen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3523847 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherม.ป.พ.en_US
dc.subjectHealth -- Information Storage and Retrievalen_US
dc.subjectTechnology, Medicalen_US
dc.subjectHealth Care Evaluation Mechanismen_US
dc.subjectData Collectionen_US
dc.subjectQuality of Health Careen_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleการสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับประชาชนen_US
dc.title.alternative[Survey on Health Information Situation for People]en_US
dc.identifier.callnoW26.5 ช221ร 2541en_US
dc.subject.keywordเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordสุขภาพสำหรับประชาชนen_US
.custom.citationซำแก้ว หวานวารี, Sumkaew Wanvaree, วิชัย เอกพลากร, พักตร์วิมล ประเสริฐ and สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. "การสำรวจสถานการณ์เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพสำหรับประชาชน." ม.ป.. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1671">http://hdl.handle.net/11228/1671</a>.
.custom.total_download333
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0133.pdf
ขนาด: 4.104Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย