Show simple item record

Development Guideline for Public Health Information Technology in Thailand

dc.contributor.authorกฤษดา เรืองอารีย์รัชต์en_US
dc.contributor.authorKrisada Ruangareeraten_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:35:12Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:13Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:35:12Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0314en_EN
dc.identifier.otherhs0314en_EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1673en_US
dc.description.abstractแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับงานสาธารณสุขในประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับงาน สาธารณสุขในประเทศไทย เป็นการทบทวนและศึกษาแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสุขในต่างประเทศเพื่อเปรียบเทียบกับการพัฒนาในประเทศไทย และเสนอกรณีตัวอย่างการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสุขที่สำคัญในประเทศไทย จากการศึกษาพบว่าประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานสาธารณสุขจำนวนมากและรัฐบาลปล่อยอิสระในการพัฒนา แต่มีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐาน ซึ่งบางหน่วยงานเป็นองค์กรรัฐบาลและบางส่วนเป็นองค์กรอิสระ ในหน่วยงานประเภทโรงพยาบาลมีการใช้งานในโรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชนและโรงพยาบาลของมหาวิทยาลัยมีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในงานบริการ รักษาพยาบาล งานด้านการบริหารงาน ด้านการวิจัยและงานด้านธุรการ และให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างโรงพยาบาลต่าง ๆ และหน่วยงานประกันสุขภาพอื่น ๆ ตามมาตรฐานของ HL-7 ในหน่วยงานด้านประกันสุขภาพมีการใช้งานส่วนใหญ่ในกระบวนการจ่ายาชดเชย ระหว่างผู้ให้บริการการรักษาพยาบาลและผู้จ่ายค่าตอบแทนการบริการ (บริษัทประกันภัยและหน่วยงานของรัฐ) นอกจากนี้ยังมีบริการอื่น ๆ เช่น การตรวจสอบข้อมูลสิทธิของผู้มารับบริการจากฐานข้อมูลกลาง ในประเทศไทยมีการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศไปอย่างรวดเร็ว มีการกำหนดนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และบุคลากรด้านสารสนเทศ มีการพัฒนาการใช้ระบบอินเตอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย มีการจัดสร้างเครือข่ายสารสนเทศภาคธุรกิจและเครือข่ายสารสนเทศภาครัฐ แต่ยังขาดการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้บริหารประเทศ การพัฒนาส่วนใหญ่เกิดจากการพัฒนาโดยภาคเอกชน ด้านการพัฒนาระบบสารสนเทศด้านสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแผนแม่บทการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศปี 2540-2544 เพื่อใช้สำหรับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีการจัดสร้างระบบการแพทย์ทางไกลผ่านดาวเทียมและมีการพัฒนาระบบสารสนเทศในหน่วยงานในระดับจังหวัด ตั้งแต่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และสถานีอนามัย จากการศึกษาผู้วิจัยได้เสนอประเด็นเพื่อการพิจารณาดังนี้ 1.ควรมีการจัดตั้งองค์กรมาตรฐานด้านสาธารณสุขเพื่อทำหน้าที่ในการพัฒนาและ ประสานงานเพื่อให้มีมาตรฐานของระบบข้อมูลและมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.ควรมีการพิจารณาและผลักดันให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศตามแผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข ปี 2540-2544 อย่างจริงจัง 3.ควรมีการสนับสนุนให้มีการศึกษาและพัฒนาระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล และสนับสนุนให้เกิดกระบวนการวิเคราะห์ระบบอย่างถูกต้องในโรงพยาบาล 4.ควรมีการสนับสนุนการประสานงานเพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันของเทคโนโลยีสารสนเทศระหว่างองค์กรภาครัฐด้วยกันและองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้องen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent5305913 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectPublic Health--Information Storage and Retrievalen_US
dc.subjectTechnology, Medicalen_US
dc.subjectHealth Information Technologyen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานสาธารณสุขในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeDevelopment Guideline for Public Health Information Technology in Thailanden_US
dc.identifier.callnoW26.5 ก17ร 2541en_US
dc.subject.keywordInformation Systemsen_US
dc.subject.keywordเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordระบบสารสนเทศen_US
.custom.citationกฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ and Krisada Ruangareerat. "แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับงานสาธารณสุขในประเทศไทย." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1673">http://hdl.handle.net/11228/1673</a>.
.custom.total_download673
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year12
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs0314.pdf
Size: 5.361Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record