dc.contributor.author | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.contributor.author | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม | th_TH |
dc.contributor.author | Health Systems Research Institute | en_US |
dc.contributor.author | Mahidol University. Institute of Population and Research | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:21:14Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:35:14Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:21:14Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:35:14Z | |
dc.date.issued | 2546 | en_US |
dc.identifier.other | hs1085 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1675 | en_US |
dc.description.abstract | เนื่องจากการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมและการเมืองที่กำหนดแนวคิดของการกระจายอำนาจให้เป็นเงื่อนไขสำคัญที่จะขับเคลื่อนการปรับเปลี่ยนกลไกการบริหารจัดการของระบบบริการ และระบบสุขภาพในภูมิภาคและท้องถิ่นในอนาคต ดังนั้นการสร้างความรู้และตัวชี้วัดสถานะสุขภาพของประชาชนไทยจึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะส่งผลต่อการปฏิรูประบบสุขภาพที่กำลังดำเนินอยู่ การสร้างเครือข่ายนักวิจัยและนักวิชาการที่จะเข้ามารับภารกิจการพัฒนาระบบการประเมินสถานะสุขภาพของประชาน จึงถือว่าเป็นพลังทางวิชาการที่เป็นหัวใจหลักของระบบอภิบาลสุขภาพในอนาคต การพัฒนาตัวชี้วัดสถานะสุขภาพประชาชนไทยชุดนี้ เป็นผลงานของทีมงานนักวิจัยสหสาขาทั้งในมหาวิทยาลัย และในพื้นที่ ซึ่งได้สรุปบทเรียนมาเป็นคู่มือประเมินสถานะสุขภาพที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ในระดับจังหวัด ทั้งนี้โครงการได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2544 โดยขณะนี้การดำเนินการได้ล่วงเข้าระยะที่สองแล้ว หนึ่งในแผนการดำเนินงานระยะที่สองของโครงการฯ ก็คือ การพัฒนาตารางชีพและจัดทำคู่มือการสร้างตารางชีพโดยใช้จังหวัดนำร่องเป็นตัวอย่างหรือกรณีศึกษาเพื่อพัฒนาขีดความสามารถของบุคลาการและองค์กรในระดับจังหวัดให้สามารถคำนวณดัชนีพื้นฐานทางประชากรได้อย่างถูกต้องโดยใช้ข้อมูลที่เหมาะสม เมื่อแต่ละจังหวัดสามารถพัฒนาตารางชีพของตนเองได้แล้ว ก็จะสามารถนำดัชนีที่ได้จากตารางชีพไปคำนวณดัชนีสถานะสุขภาพตัวอื่นๆ ต่อไปได้ เช่น ดัชนีภาระโรค เป็นต้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 296476 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง | en_US |
dc.subject | Vital Statistics | en_US |
dc.subject | Population | en_US |
dc.subject | การตาย--ตาราง | en_US |
dc.subject | ประชากร--สถิติ | en_US |
dc.subject | สถิติชีพ | en_US |
dc.subject | ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | คู่มือการสร้างตารางชีพระดับจังหวัด | th_TH |
dc.title.alternative | Manuals for construction of life table at the provincial level | en_US |
dc.identifier.callno | HB1322 ค695 2546 | en_US |
dc.subject.keyword | Life Table | en_US |
dc.subject.keyword | ตารางชีพ | en_US |
.custom.citation | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Health Systems Research Institute and Mahidol University. Institute of Population and Research. "คู่มือการสร้างตารางชีพระดับจังหวัด." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1675">http://hdl.handle.net/11228/1675</a>. | |
.custom.total_download | 34 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 2 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 6 | |