แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

เครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย: การกระจายการใช้และการเข้าถึงบริการ

dc.contributor.authorวงเดือน จินดาวัฒนะen_US
dc.contributor.authorปิยะ หาญวรวงศ์ชัยen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.contributor.otherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.contributor.otherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.contributor.otherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.date.accessioned2008-09-27T10:55:58Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:51:59Z
dc.date.available2008-09-27T10:55:58Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:51:59Z
dc.date.issued2544en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการสาธารณสุข. 10,2(2544) : 242-252en_US
dc.identifier.otherDMJ11en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/168en_US
dc.description.abstractศึกษาการกระจาย การใช้ และการเข้าถึงบริการเครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย ในระหว่างปี 2537-2542 ได้แก่ เครื่องสลายนิ่ว (ESWL) เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scanner) เครื่องตรวจอวัยวะภายในด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าหรือเครื่องเอ็มอาร์ไอ (MRI) และเครื่องตรวจมะเร็งเต้านม (Mammography) เพื่อนำไปสู่การจัดการทรัพยากรสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพทั้งในด้านเทคนิคและการจัดสรรทรัพยากร รวมทั้งให้ตระหนักความคุ้มค่าในการลงทุนและความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการ การกระจายเครื่องมือแพทย์ราคาแพง กระจุกตัวอยู่ในสถานพยาบาลภาคเอกชน ยกเว้นเครื่องสลายนิ่วที่มีการติดตั้งในรัฐบาลมากกว่าภาคเอกชน การเพิ่มจำนวนเครื่องมือแพทย์ราคาแพงจะสัมพันธ์กับการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มช้าลงหรือลดลงเมื่อเกิดภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ซึ่งสืบเนื่องมาจากความอ่อนแอของภาครัฐในการควบคุมทั้งจำนวนการกระจายเครื่องมืออย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม และความเป็นธรรมในการบริการ การใช้ประโยชน์จากเครื่องมือแพทย์ราคาแพงยังไม่เต็มประสิทธิภาพในภาครัฐและภาคเอกชน เนื่องจากการลงทุนค่าเครื่องมือสูงมาก กอรปกับค่าดูแลรักษาเครื่อง ค่าสถานที่ ค่าแพทย์ผู้เชี่ยวชาญพิเศษในการใช้เครื่อง ฯลฯ ดังนั้น เพื่อความคุ้มทุนในระยะสั้นสำหรับเครื่องมือบางชนิด ได้ใช้กลไกการตลาดเพื่อเพิ่มจำนวนบริการ ซึ่งก่อให้เกิดข้อทักท้วงด้านจริยธรรมทางการแพทย์และเพิ่มค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพโดยไม่จำเป็น นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ที่มีรายได้น้อยและไม่มีหลักประกันสุขภาพเข้าถึงบริการด้วยเครื่องมือแพทย์ราคาแพงน้อยกว่าผู้มีรายไดสูงและมีหลักประกันสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาบ ควรมีการพัฒนาฐานข้อมูลจำนวนเครื่องมือแพทย์และปริมาณการใช้บริการของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการพัฒนานยาบายการวางแผน การจัดสรรให้เหมาะสมกับปัญหา ควรปรับปรุงกฏหมายควบคุมเครื่องมือแพทย์ให้แก้ปัญหาเชิงรุกในภาพรวมของทั้งประเทศเพื่อการกระจายและการใช้อย่างเหมาะสม ควรปฏิรูประบบสุขภาพให้ระบบประกันสุขภาพครอบคลุมประชาชนคนไทย ควรคำนึงถึงบริการด้วยเครื่องมือแพทย์ราคาแพงสำหรับประชาชนทุกคนที่จำเป็นและได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ตามข้อบ่งชี้ที่สมควร เพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสุขภาพen_US
dc.format.extent815380 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.titleเครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย: การกระจายการใช้และการเข้าถึงบริการen_US
dc.typeArticleen_US
dc.subject.keywordเครื่องมือแพทย์ราคาแพงen_US
dc.subject.keywordการใช้ประโยชน์en_US
dc.subject.keywordเครื่องสลายนิ่วen_US
dc.subject.keywordเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์en_US
dc.subject.keywordเครื่องเอ็มอาร์ไอen_US
dc.subject.keywordเครื่องตรวจมะเร็งเต้านมen_US
.custom.citationวงเดือน จินดาวัฒนะ, ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย and วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร. "เครื่องมือแพทย์ราคาแพงในประเทศไทย: การกระจายการใช้และการเข้าถึงบริการ." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/168">http://hdl.handle.net/11228/168</a>.
.custom.total_download1186
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month16
.custom.downloaded_this_year310
.custom.downloaded_fiscal_year46

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: 2001_DMJ11_เครื่อ ...
ขนาด: 796.2Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย