แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาประสิทธิผลของการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตปทุมวัน ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า

dc.contributor.authorจอนผะจง เพ็งจาดth_TH
dc.contributor.authorJohnphajong Phengjarden_US
dc.contributor.authorกนกวรรณ สุวรรณปฏิกรณ์th_TH
dc.contributor.authorประภาพร จินันทุยาen_US
dc.contributor.authorฐิติภา หลิมสุนทรth_TH
dc.contributor.authorKanogwan Suwanpatikornen_US
dc.contributor.authorPrapaporn Jinuntuyaen_US
dc.contributor.authorTitipa Limsunthornen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:22Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:38:53Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:22Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:38:53Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1293en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1691en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และเพื่อศึกษาภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยประชาชนที่มีสิทธิในโครงการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (โครงการ 30 บาท) ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ประกอบด้วยประชาชนที่อาศัยในพื้นที่แขวงปทุมวันและแขวงลุมพินี จำนวน 810 ครอบครัว(1,090 คน) การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามร่วมกับการการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผลการวิจัยพบว่า บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิตามนโยบายประกันสุขภาพถ้วนหน้าของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ประกอบด้วย หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ (Primary care unit)2 แห่ง คือ คลินิกผู้ป่วยนอก ตึกภปร ชั้น13 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ซึ่งให้บริการตรวจตรวจรักษาแบบผู้ป่วยนอกแก่ประชาชนที่มีบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าในพื้นที่รับผิดชอบในเวลาราชการ และศูนย์บริการสาธารณสุข 16 ลุมพินี ให้บริการสุขภาพ 2 รูปแบบ คือบริการตรวจรักษาผู้ป่วยนอกและบริการสุขภาพในชุมชน ซึ่งแบ่งเป็น 1) บริการสุขภาพที่ให้กับประชาชนที่มีสุขภาพดี โดยเน้นการให้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำหนดแผนการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการแก้ไขปัญหาชุมชน 2) บริการสุขภาพเชิงรุกเข้าสู่ชุมชนสำหรับประชาชนที่มีปัญหาสุขภาพโดยการบริการเยี่ยมบ้านและการดูแลสุขภาพที่บ้านของทีมสุขภาพสหสาขาวิชาชีพผลการวิจัยพบว่าประชาชนที่มีสิทธิในโครงการส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า เหตุผลของการเลือกใช้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ คือสถานพยาบาลอยู่ใกล้บ้าน เดินทางสะดวก และค่ารักษาพยาบาลไม่แพง กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความพึงพอใจกับบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิที่ได้รับเป็นอย่างมาก เนื่องจากการได้รับการดูแลสุขภาพที่มีมาตรฐานและเสียค่าใช้จ่ายน้อย การบริการที่กลุ่มตัวอย่างไม่พึงพอใจคือ การรอพบแพทย์นานและการไม่ได้รับการอธิบายถึงการเจ็บป่วยที่เป็นอยู่ กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เคยใช้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิมีความคาดหวังว่าบริการสุขภาพควรมีความเสมอภาคในการรับบริการ การดูแลรักษาอย่างมีมาตรฐาน ไม่ต้องรอนาน บุคลากรพูดจาไพเราะ ยิ้มแย้มแจ่มใสและมีท่าทีเต็มใจและเอาใจใส่ในการให้บริการ บุคลากรควรปรับปรุงในเรื่องการพูด การให้การต้อนรับ ให้เกียรติ ไม่เลือกปฏิบัติ และที่สำคัญควรเคร่งครัดเรื่องการทำงานตรงเวลากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการรับรู้ภาวะสุขภาพ การรับรู้ความสุขและความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาสุขภาพที่พบมากได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคข้อเข่าเสื่อม และโรคไขมันในเลือดสูง ผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังดังกล่าวมีความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับดี กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับดี พฤติกรรมสุขภาพที่ปฏิบัติน้อยคือการออกกำลังกาย การดูแลตนเองด้านโภชนาการ การตรวจเต้านม/อัณฑะ และการตรวจสุขภาพประจำปีth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Service Systemsen_US
dc.subjectHealth Behavioren_US
dc.subjectHealth Serviceen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen_US
dc.subjectอนามัย, บริการen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการศึกษาประสิทธิผลของการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตปทุมวัน ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าth_TH
dc.title.alternativeThe effectiveness of primary health care service and health behavior of people living in Lumpinee district under the universal health coverage programen_US
dc.identifier.callnoW84.JT3 จ192ก 2547en_US
dc.identifier.contactno45ค094en_US
dc.subject.keywordEffectivenessen_US
dc.subject.keywordPrimary Health Care Serviceen_US
dc.subject.keywordUniversal Health Coverageen_US
dc.subject.keywordประสิทธิผลen_US
dc.subject.keywordบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิen_US
dc.subject.keywordการประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
dc.subject.keywordประกันสุขภาพen_US
.custom.citationจอนผะจง เพ็งจาด, Johnphajong Phengjard, กนกวรรณ สุวรรณปฏิกรณ์, ประภาพร จินันทุยา, ฐิติภา หลิมสุนทร, Kanogwan Suwanpatikorn, Prapaporn Jinuntuya and Titipa Limsunthorn. "การศึกษาประสิทธิผลของการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในเขตปทุมวัน ภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1691">http://hdl.handle.net/11228/1691</a>.
.custom.total_download366
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year20
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1293.pdf
ขนาด: 769.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย