Show simple item record

Development process of pesticide-free vegetable production systems in Chiang Mai Province

dc.contributor.authorพฤกษ์ ยิบมันตะสิริen_US
dc.contributor.authorPruk Yimmantasirien_US
dc.contributor.authorจตุรงค์ พวงมณีen_US
dc.contributor.authorกุศล ทองงามen_US
dc.contributor.authorนิวัติ เชาว์ศิลป์en_US
dc.contributor.authorบุศรา ลิ้มนิรันดร์กุลen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:23Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:36:34Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:23Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:36:34Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0730en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1692en_US
dc.description.abstractการพัฒนาสุขภาพประชาชาติไทยโดย การส่งเสริมการผลิตและการบริโภคอาหารคุณภาพ: ระบบและกระบวนการผลิตผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการผลิตผักปลอดสารพิษ กระบวนการเกิดกลุ่ม การบริหารจัดการและความยั่งยืนของกลุ่ม พร้อมทั้งบทบาทของปัจจัยภายนอกที่จะมีผลต่อการขยายตัวของกลุ่ม ในการศึกษาครั้งนี้ได้คัดเลือกการผลิตผักปลอดสารพิษในพื้นที่อำเภอสารภี แม่ริม และพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สัมภาษณ์กลุ่มเกษตรกรสมาชิกและผู้ให้ข้อมูลหลัก (key informants) เช่น ประธานกลุ่มและคณะกรรมการกลุ่ม ผู้นำเกษตรกร เกษตรตำบล ผู้นำองค์กรพัฒนาเอกชนที่ทำงานในพื้นที่ และ ร้านค้าที่จำหน่ายผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาในพื้นที่ศึกษา 3 อำเภอ พบว่า มีการจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษทั้ง 4 กลุ่มโดยมีรูปแบบที่แตกต่างกัน โดยกลุ่ม อ. สารภี กลุ่มม่วงคำ โป่งแยง ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ส่วนกลุ่มดอยคำ อ. โป่งแยงได้รับการผลักดันจากโครงการหลวงดอยคำ และองค์กรพัฒนาเอกชนได้ช่วยกลุ่มเกษตรกร พร้าว จัดรูปองค์กรเพื่อพัฒนาเกษตรอินทรีย์ระบบการผลิตในพื้นที่ศึกษาพบว่าใน อ. สารภี เกษตรกรนิยมปลูกผักผสมผสานในแปลงลำไย เมื่อลำไยโตก็จะเลิกผลิต ส่วนกลุ่มม่วงคำและกลุ่มดอยคำ อ. โป่งแยง เป็นการปลูกผักสลับกับการปลูกไม้ดอก ส่วนการปลูกทั้งกางมุ้งและกลางแจ้งแต่ อ. สารภีจะมีรูปแบบปลูกกางมุ้งมากกว่าส่วนมากปลูกผักจีน ส่วนในพื้นที่ อ. โปงแยง (กลุ่มม่วงคำ และกลุ่มดอยคำ) จะเน้นปลูกกลางแจ้ง ผักที่ปลูกเป็นผักจีนและผักเมืองหนาว การจัดการสารเคมีจะเหมือนกันทัง 3 กลุ่มคือการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ส่วนกลุ่ม อ. พร้าว จะเป็นเกษตรอินทรีย์ไม่ใช้เคมีใดเลย ผักปลูกผสมผสานในสวนรอบบ้าน ปลูกกลางแจ้ง ส่วนมากจะเป็นผักพื้นเมืองส่วนผักจีนปลูกช่วงฤดูหนาว ระบบการตลาดมีการจัดการแตกต่างกันไป กลุ่ม อ.สารภี มีการส่งผักทุกวันโดยที่มีสมาชิกเป็นพ่อค้าและจัดส่งไปตามที่ต่างๆ กลุ่มดอยคำจะส่งผักให้โดยตรงแก่โครงการหลวงดอยคำ แต่สามารถจำหน่ายให้กับพ่อค้าอื่นในกรณีที่ผักไม่ได้คุณภาพหรือตกเกรด กลุ่มม่วงคำมีการจัดการทางตลาดโดยแบ่งกลุ่มสมาชิกเป็น 6 กลุ่มย่อย ส่งผักโดยแต่ละกลุ่มจะส่งในตลาดที่ไม่ซ้ำกันมีการส่งผักจำหน่ายทุกวัน ส่วนกลุ่ม อ. พร้าว เป็นลักษณะเหลือจากบริโภคค่อยจำหน่าย โดยกลุ่มจะนำสินค้าไปจำหน่ายเองทุกวันเสาร์ที่ตลาดอิ่มบุญ กลุ่มปลูกผักสารภี คาดว่าจะไม่ยั่งยืน เนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่ไม่ได้มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาผักปลอดสารพิษเป็นอาชีพ กลุ่มดอยคำพึ่งพิงโครงการหลวงดอยคำด้านการจัดการตลาดและแผนการผลิต ถ้าปราศจากโครงการหลวงดอยคำ กลุ่มอาจจะสลายตัวได้ กลุ่มบ้านม่วงคำ ซึ่งแบ่งออกเป็น 6 กลุ่มย่อยอิสระ มีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นกลุ่มที่พึ่งตนเองได้ถ้ามีการรวมกลุ่มหรือสร้างเป็นเครือข่ายเพื่อการผลิตและการตลาด กลุ่มพร้าว ซึ่งพัฒนาอย่างช้าๆแต่มั่นคง สามารถพัฒนาจนพึ่งตนเองได้ เมื่อการผลิตมีความแน่นอนมากขึ้นen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1710388 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectChiang Maien_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาสุขภาพประชาชาติไทยโดย การส่งเสริมการผลิตและการบริโภคอาหารคุณภาพ : ระบบและกระบวนการผลิตผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment process of pesticide-free vegetable production systems in Chiang Mai Provinceen_US
dc.description.abstractalternativeDevelopment process of pesticides-free vegetable production systemsin Chiang Mai Province The research has the objectives to provide better understanding on pesticide-free vegetable production systems, on process of group formation, organization and management of farmer groups and their sustainability, and to determine the roles of external institutions on the development of farmer groups. The sites selected for case studies were the pesticide-free vegetable production in Saraphi, Mae Rim and Phrao districts of Chiang Mai province. The research methods included semi-structured interview, where the target interviewees were farmer members, and key informants such as chairperson and committee members, farmer leaders, kaset Tambons (Subdistrict extension agents), NGOs, and retail markets of pesticide-free vegetables in Chiang Mai. The results showed that the farmer groups in Saraphi, Ban Muang Khum of Pong Yang subdistrict were organized and assisted by the District Agriculture office. The Doi Khum group of Pong Yang subdistrict were organized by the Doi Khum Royal Project, and the NGO was helping the farmer group at Phrao district to produce organic vegetables. The Saraphi group intercropped vegetables in young longan orchard. There was a tendency to cease growing pesticide-free vegetables when the fruit tree matured. The Mung Khum and Doi Khum groups grew their vegetables in rotation with flower production. Both open-field and closed net production practices were found. The Saraphi group grew more vegetables. Which the Pong Yang area (Mung Khum and Doi Khum) mainly produced vegetables on open field, consisting of both common type and sub-temperate vegetables. All three groups practised safe-use of pesticides. The Phrao group produce organic vegetables without using any chemicals or pesticides. The vegetables which were mainly local, were planted on open-fields around or not too distant from the house. The common vegetables were also grown during cool season. The groups marketed their produce differently. The Saraphi group, depending on one member as local trader, delivered their produce daily to various markets. The Doi Khum was contracted to the Royal Project, but was allowed to sell their discarded products to other markets. The Mung Khum group was further divided into six sub-groups, each handling its own marketing outlets independently. The Phrao group sold their surplus in the Saturday market organized by NGO in Chiang Mai at Im-Boon place. It is anticipated that the Saraphi group was not sustained due to less motivation to grow vegetables among most farmer members. The Doi Khum group depended solely on the Royal Project for marketing arrangement and production plan without the Royal Project, the group would disintegrated. The Mung Khum group, consisting of six subgroups working independently, could become strong if those sub groups could form alliance or network for production and marketing. The Phrao group, developed slowly but steady, would become self-reliance when the production is more stable.en_US
dc.identifier.callnoWA525 พ431ก 2543en_US
dc.subject.keywordChemicalsen_US
dc.subject.keywordPesticidesen_US
dc.subject.keywordผักปลอดสารพิษen_US
dc.subject.keywordสารเคมีen_US
dc.subject.keywordยากำจัดศัตรูพืชen_US
.custom.citationพฤกษ์ ยิบมันตะสิริ, Pruk Yimmantasiri, จตุรงค์ พวงมณี, กุศล ทองงาม, นิวัติ เชาว์ศิลป์ and บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล. "การพัฒนาสุขภาพประชาชาติไทยโดย การส่งเสริมการผลิตและการบริโภคอาหารคุณภาพ : ระบบและกระบวนการผลิตผักปลอดสารพิษในจังหวัดเชียงใหม่." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1692">http://hdl.handle.net/11228/1692</a>.
.custom.total_download99
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0730.pdf
Size: 1.753Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record