Show simple item record

Monitoring and evaluation system for organization administration and for development of public hospital management policy

dc.contributor.authorบัญชร แก้วส่องen_US
dc.contributor.authorBanchorn Kaewsongen_US
dc.contributor.authorพีระศักดิ์ ศรีฤาชาen_US
dc.contributor.authorสุจิตรา จงจิตรen_US
dc.contributor.authorสมภพ พระธานีen_US
dc.contributor.authorสุกัญญา เอมอิ่มธรรมen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:21:27Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:37:28Z
dc.date.available2008-12-04T05:21:27Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:37:28Z
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.otherhs0568en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1700en_US
dc.descriptionเล่มที่1 เป็นการสังเคราะห์ภาพรวมจากรณีศึกษาทั้ง 6 กรณีศึกษา เล่มที่2 ภาคผนวกเนื้อหาของกรณีศึกษาทั้ง 6 เล่มที่ 3 ภาคผนวกเครื่องมือที่ใช้ในกรณีศึกษาen_US
dc.description.abstractระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารองค์การสำหรับการพัฒนานโยบายเพื่อปรับปรุงระบบการบริหารงานโรงพยาบาลของรัฐ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ การให้คำแนะนำเชิงนโยบายสำหรับการพัฒนาระบบการควบคุมและประเมินการบริหารจัดการโรงพยาบาลรัฐ โดยใช้กระบวนการทบทบวนระบบบริหารจัดการสถานบริการตัวอย่าง ทบทวนระบบการควบคุมขององค์กรระดับกลาง วิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดและให้ข้อเสนอเพื่อการพัฒนาระบบการควบคุมและประเมินโดยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร โรงพยาบางสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลราษฎร์ยินดี จังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และองค์กรส่วนกลางที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและการประเมิน ผู้ให้ข้อมูลได้แก่เจ้าหน้าที่ระดับสูงในองค์กรต่าง ผู้ที่รับผิดขอบการตรวจสอบและการประเมิน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการและตัวแทนชุมชน โครงสร้างการบริหารจัดการขององค์กรตัวอย่างสามารถแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกเป็นองค์กรที่ถูกควบคุมอย่างมากจากส่วนกลาง และกลุ่มที่สองมีคณะกรรมการเพื่อกำหนดนโยบายขององค์กรและควบคุมงานบริการจัดการที่สำคัญ องค์กรทั้งสองแบบนี้มีการพัฒนาคุณภาพโดยใช้ระบบการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล หรือ ISO 9002 ส่วนระบบการตรวจสอบและการประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการ และการควบคุมคุณภาพ การเงิน การพยาบาลและส่วนอื่นๆ การตรวจสอบสามารถใช้ระบบที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการที่เป็นการตรวจสอบกันภายใน องค์กรส่วนกลางในกลุ่มตัวอย่างได้แก่ สำนักงบประมาณซึ่งรับผิดชอบในการตรวจสอบด้านการเงินและบัญชี ขณะที่สำนักงานประกันสังคมที่เป็นองค์กรส่วนกลางมีคณะกรรมการแพทย์และคณะกรรมการประสานการแพทย์ที่ทำหน้าที่ควบคุมสถานบริการสุขภาพที่ให้บริการแก่ผู้ประกันตนภายใต้โครงการประกันสังคม หน่วยงานรับรองคุณภาพโรงพยาบาลทำหน้าที่พัฒนามาตรฐานงานบริการและสนับสนุนระบบการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลให้เกิดขึ้นทั่วประเทศ คณะกรรมการที่กำหนดนโยบายองค์กรควรเป็นตัวแทนจากชุมชน องค์กรรัฐ เครือข่างองค์กร เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล และผู้ทรงคุณวุฒิจากสาธารณสุข หน่วยงานการตรวจสอบภายในควรเป็นอิสระและรายงานตรงต่อคณะกรรมการอย่างเป็นระบบ ขณะที่ทีมตรวจสอบและเครื่องมือตรวจสอบควรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent12045143 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHospital Administrationen_US
dc.titleระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารองค์การสำหรับการพัฒนานโยบายเพื่อปรับปรุงระบบการบริหารงานโรงพยาบาลของรัฐen_US
dc.title.alternativeMonitoring and evaluation system for organization administration and for development of public hospital management policyen_US
dc.description.abstractalternativeMonitoring and Evaluation System for Organization Administration and for Development of Public Hospital Management Policy In this study, the monitoring and evaluation system on public hospital management in order to improve its policy was developed through the process of reviewing the administrative system of the sampled organizations, reviewing the monitoring system of the central agency, analyzing all the data and establishing recommendations for developing monitoring and evaluation tools. Qualitative technique was used in this study. The sampled organizations were the Banpaew Hospital, Samutsakorn Province, the Prince of Songkhla University Hospital, the special clinic of the Ramathibadee Hospital, the Rajyindee Hospital (private hospital in Haadyai, Songkhla Province), the Suranaree Technology University and the Central Organizations involved in monitoring and evaluation system. Key informants were high ranked people in the organizations, those who were responsible for auditing and evaluation, the operation staff and community representatives who were purposively selected. The sampled organizations possessed 2 main administrative structures, one largely directed by the higher level organizations and the other setting up the committee to determine their own policy and to control all important administrative work. One of the highlights of these organizations was their development of services quality on the basis of either hospital accreditation or ISO 9002 to quickly respond to various factors e.g. community demand and increasing competitive markets. The auditing and evaluation systems were grouped into part of administration, quality and operation, finance and assets, nursing and other functioning sections. The auditing could be done through the obvious and formal system, or informally internal auditing system or quality and financing control system without internal auditing system. The central organizations in this study were the Budget Bureau mainly responsible for auditing financial and accounting system, the Social Security Office having the Medical Committee and the Medical and Rehabilitation Coordinating Committee both of which monitor the health facilities providing care for the insured and the Hospital Accreditation Units responsible for developing care standards and encouraging the accreditation system in nationwide. The committee which determine organization policy, monitor, evaluate and audit the organization, was recommended to set up. Such a committee should have representatives from communities, public organizations, networking organizations, the hospital, and well-experienced people in public health. The hospital administration committee should also be formed, composed of 2 groups: administrative and operational representatives. While internal auditing unit should be independent and should directly report to the policy committee. The auditing system should comprise service quality auditing and professional or special service auditing. The auditing and the reporting should be systematized whereas the auditing team and the auditing tools should be continuously developed.en_US
dc.identifier.callnoWX150 บ213ร 2542en_US
dc.subject.keywordการบริหารโรงพยาบาลen_US
dc.subject.keywordระบบบริหารองค์การen_US
dc.subject.keywordการจัดระบบบริหารจัดการen_US
dc.subject.keywordการจัดวางระบบการตรวจสอบen_US
dc.subject.keywordการจัดระบบติดตามประเมินผลองค์การen_US
dc.subject.keywordโครงสร้างองค์การen_US
.custom.citationบัญชร แก้วส่อง, Banchorn Kaewsong, พีระศักดิ์ ศรีฤาชา, สุจิตรา จงจิตร, สมภพ พระธานี and สุกัญญา เอมอิ่มธรรม. "ระบบการติดตามและประเมินผลการบริหารองค์การสำหรับการพัฒนานโยบายเพื่อปรับปรุงระบบการบริหารงานโรงพยาบาลของรัฐ." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1700">http://hdl.handle.net/11228/1700</a>.
.custom.total_download73
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs0568.pdf
Size: 12.01Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record