dc.contributor.author | สุธาวัลย์ เสถียรไทย | th_TH |
dc.contributor.author | Suthawan Sathirathai | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:21:54Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:44:49Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:21:54Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:44:49Z | |
dc.date.issued | 2548 | en_US |
dc.identifier.other | hs1181 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1757 | en_US |
dc.description.abstract | รายงานการวิจัย เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM” มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสนอยุทธศาสตร์ในการดำเนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านกฎหมายและกรอบกติกาต่างๆ เพื่อที่จะเป็นข้อมูลสำคัญสำหรับการเจรจาต่อรองในเรื่องต่างๆ และเป็นฐานการตัดสินใจเลือกโครงการที่จะก่อประโยชน์ต่อประชาชนและประเทศโดยรวม โดยการศึกษาได้ใช้วิธีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับ CDM ทั้งในส่วนของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ตลอดจนทบทวนและวิเคราะห์กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเตรียมการของประเทศอุตสาหกรรมต่างๆ ผลการศึกษาพบว่าแม้การดำเนินโครงการ CDM จะก่อให้เกิดผลดีในแง่ที่ว่าประเทศไทยมีศักยภาพในด้านต่างๆ ที่เป็นโอกาสในการดึงดูดนักลงทุนจากต่างประทศ เป็นผลให้ประเทศไทยสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการได้มาซึ่งการพัฒนาที่ยั่งยืนตามเงื่อนไขของพิธีสารเกียวโตที่กำหนดไว้ แต่ประเด็นสำคัญที่จะต้องคำนึงถึงกรณีที่เราอาจต้องมีพันธกรณีในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอนาคต และการเสียโอกาสในด้านอื่นๆ หากเร่งรีบดำเนินโครงการ CDM ณ ขณะนี้โดยขาดการพิจารณาอย่างรอบคอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีแนวทางพื้นฐานที่จะนำไปสู่การคัดเลือกโครงการ CDM ที่จะให้มีการดำเนินการที่เหมาะสมและมีกรอบกติกาที่กำหนดอย่างชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิในใบรับรองหรือ CERs ระหว่างสิทธิของภาครัฐกับสิทธิของเจ้าของโครงการ CDM นอกจากนี้ กรอบกติกาดังกล่าวจะต้องสามารถทำให้กระบวนการในการดำเนินโครงการ CDM เป็นกระบวนการที่เป็นมาตรฐาน มีความโปร่งใส มีกลไกในเชิงสถาบันที่สามารถตรวจสอบการดำเนินงานของหน่วยงานหรือองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1771471 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Health Public Policy and Health Impact Assessment | en_US |
dc.subject | Health Law | en_US |
dc.subject | Environmental Pollution | en_US |
dc.subject | Environmental Health | en_US |
dc.subject | นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ | en_US |
dc.subject | กฎหมายสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | อนามัยสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ | en_US |
dc.subject | ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM | th_TH |
dc.title.alternative | Institutional preparation and capacity building for Thailand's adoption of Clean Development Mechanism (CDM) Project | en_US |
dc.description.abstractalternative | Research Title Institutional preparation and capacity building for Thailand’s adoption of Clean Development Mechanism (CDM) ProjectResearcher Suthawan Sathirathai, et al.Funding Health Systems Research InstituteYear 2004AbstractThe objective of the research report entitled “Institutional Preparation and Capacity Building for Thailand’s Adoption of Clean Development Mechanism (CDM) Project” is to present Thailand’s strategy for implementing the CDM project especially in the field of laws and regulations. This will be used as the main database for negotiations and a basis for decision-making concerning the selection of the projects for the benefit of the people and country. To carry out the study, the researchers organized fora for the exchange of views and knowledge on CDMs both in the public and private sectors. Other research methods used consist of the review and analysis of related laws as well as the collection of data on CDMs in industrialized countries. The outcome of the study shows that the implementation of CDM has enabled Thailand, which enjoys great potential for attracting foreign investments, to increase her capability of achieving sustainable development in line with the requirements of the Kyoto Protocol. Two main issues to be considered are, firstly, the fact that Thailand may have legally-binding targets for reducing greenhouse gas emissions in the future; secondly, the country may also lose other opportunities, should it expedite the implementation of CDM without careful consideration. It is therefore imperative to establish a basic guideline relating to the selection criteria for CDM projects to ensure that there are sound modalities and procedures as well as clear rules on the rights to issue Certified Emission Reductions (CERs) as far as national entities and CDM project owners are concerned. Besides, these rules should enhance the reliability and transparency of the CDM implementation process as well as provide the CDM process with institutional mechanisms to check the performance of related agencies and organizations. | en_US |
dc.identifier.callno | WA671 ส784ก 2548 | en_US |
dc.identifier.contactno | 47ค042 | en_US |
dc.subject.keyword | Clean Development Mechanism Project | en_US |
.custom.citation | สุธาวัลย์ เสถียรไทย and Suthawan Sathirathai. "การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1757">http://hdl.handle.net/11228/1757</a>. | |
.custom.total_download | 34 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 3 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |