dc.contributor.author | สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Somrat Charulaksananan | en_US |
dc.contributor.author | ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุวรรณี สุรเศรณีวงศ์ | th_TH |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:22:12Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:24:00Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:22:12Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:24:00Z | |
dc.date.issued | 2547 | en_US |
dc.identifier.other | hs1154 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1798 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวางระบบการศึกษาภาวะแทรกซ้อนที่สําคัญทางวิสัญญีในโรงพยาบาล 20 โรงพยาบาลในประเทศไทย ได้แก่ โรงเรียนแพทย์ 7 แห่ง, โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 5 แห่ง, โรงพยาบาลทั่วไป 4 แห่งและโรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง การศึกษาความปลอดภัยทางวิสัญญีในประเทศไทย เป็นการศึกษาแบบไปข้างหน้าโดยบุคลากรทางวิสัญญีทําการบันทึกข้อมูลการดูแลผู้ป่วย ซึ่งได้รับการให้ยาระงับความรู้สึกทุกรายในแบบฟอร์มเชิงโครงสร้าง (form 1) ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลประชากรศาสตร์ ข้อมูลทางวิสัญญี ข้อมูลด้านศัลยกรรมตลอดจนภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น โดยผู้จัดการสถาบันทําการทบทวนบันทึกทางวิสัญญี เวชระเบียน และสัมภาษณ์บุคลากรทางวิสัญญีที่เป็นผู้ให้ยาระงับความรู้สึก รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นที่ได้โดยระบบการบันทึก 2 ครั้ง เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงหลัง การให้ยาระงับความรู้สึก ผลการศึกษาผู้ป่วยที่ได้ยาระงับความรู้สึกจํานวน 86,265 ราย มีอายุเฉลี่ย 38.5 (21.4) ปี น้ำหนักเฉลี่ย 38.5 (21.4) กก. ส่วนสูงเฉลี่ย 146.6 (38.5) ซม. ตามลําดับ ร้อยละ 87.5 ของผู้ได้ยาระงับความรู้สึก จําแนกโดยสมาคมวิสัญญีแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกา ระดับ 1 หรือ 2 โดยร้อยละ 31.2 เป็นการให้ยาระงับความรู้สึกแบบฉุกเฉิน วิธีการให้ยาระงับความรู้สึกจากมากไปน้อย ได้แก่ การให้ยาระงับความรู้สึกแบบทั้งตัว ร้อยละ 61 การฉีดยาเข้าไขสันหลัง ร้อยละ 23.3 การให้ยาระงับความรู้สึกทั้งตัวแบบฉีดยาเข้าเส้นเลือดดํา ร้อยละ 5.5 การให้บริการทางวิสัญญี แบบเฝ้าระวัง ร้อยละ 3.4 การระงับความรู้สึกกลุ่มประสาทเบรเคียล ร้อยละ 2.9 และการฉีดยาชาเข้าชั้นเหนือดูรา ร้อยละ 1.2 ฯลฯ ภายใน 24 ชม. หลังการให้ยาระงับความรู้สึก มีผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น หรือเสียชีวิตโดยยังไม่จําแนกสาเหตุ 53 ราย (ร้อยละ 0.1) และ 17 ราย (ร้อยละ 0.2) ภาวะแทรกซ้อนทางระบบหายใจ ได้แก่ ภาวะความอิ่มตัวของออกซิเจนต์ 123 ราย (ร้อยละ 0.1) ภาวะใส่ท่อหายใจยาก 83 ราย (ร้อยละ 0.1) การใส่ท่อหายใจซ้ำ 26 ราย (ร้อยละ 0.03) การใส่ท่อหายใจเข้าหลอดอาหาร 19 ราย (ร้อยละ 0.02) ภาวะแทรกซ้อนสําคัญอื่น ได้แก่ หมดสติ ปัญหาหลอดเลือดสมอง หรือชัก 9 ราย สงสัยภาวะหัวใจขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย 8 ราย ภาวะอนาไฟแลกซิส หรือคล้ายอนาไฟแลกซิส 9 ราย ปัญหาเชิงระบบ ได้แก่ การให้ยาผิด 10 ราย ปัญหาอุปกรณ์ทางวิสัญญี 18 ราย บุคลากรวิสัญญีบาดเจ็บ 5 ราย เข้าพักในโรงพยาบาลโดยไม่ได้คาดคิด 6 ราย และจําเป็นต้องเข้าหออภิบาลผู้ป่วยหนักโดยไม่คาดคิด 27 รายสรุปการศึกษานี้แสดงข้อมูลเชิงระบาดวิทยาเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีในประเทศไทยที่มีขนาดใหญ่เป็นครั้งแรก อัตราการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นหรือเสียชีวิต โดยยังไม่จําแนกสาเหตุอยู่ในเกณฑ์เมื่อเทียบกับประเทศอื่น การวิเคราะห์หาสาเหตุเชิงระบบต่อไปจะสามารถนํามาใช้ปรับปรุงคุณภาพการให้ยาระงับความรู้สึกในประเทศได้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1871598 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Health Service Systems | en_US |
dc.subject | Anesthesia | en_US |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ระงับความรู้สึก | en_US |
dc.subject | การบริการสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีในประเทศไทย และการค้นหาปัจจัยเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาแนวทางป้องกันเชิงระบบ | th_TH |
dc.title.alternative | Multi-centered study of anesthesia related adverse events in Thailand: The Thai anesthesia incident study (TAIS) | en_US |
dc.description.abstractalternative | Objectives: To develop and institute a methodology for the study of anesthesia related adverse outcome in 20 hospitals in Thailand: 7 university hospitals, 5 tertiary hospitals, 4 general hospitals and 4 district hospitals.Methods: The Thai Anesthesia Incident Study (TAIS) was prospectively conducted by collecting data of all consecutive anesthetics in preplanned structured data entry form (form 1). The database including patients demographics, anesthetic, surgical factors and anesthesia related adverse anesthetic records and hospital charts and interview attending anesthesia personnel. Data were collected and entered by double entry technique and analysis of outcomes determined for preoperative intraoperative and 24 hours postoperative periods.Results: The 86265 patients were take care by anesthesia personnel. The mean (S.D.)age, weight and height of the patients were 38.5 (21.4) years, 53.2 (18.4) kg. And 146.6 (38.5) cm. In this study 87.5 % of patients were classified as ASA physical status 1 or 2 and 31.2 % were in emergency setting. The six most common choices of anesthesia were general anesthesia (61%), spinal anesthesia (23.3%), total intravenous anesthesia (5.5%), monitor anesthesia care (3.4%), brachial plexus block (2.9%) and epidural anesthesia (1.2%) respectively etc. There were 53 cases (0.1%) of cardiac arrest and 17 cases (0.02%) death within 24 hours due to all etiologies. The common respiratory adverse events were desaturation 123 cases (0.1%), difficult intubation 83 cases (0.1%), reintubation 26 cases (0.03%) and esophageal intubation 19 cases (0.02%). Other important adverse events were coma/CVA/convulsion 9 cases, myocardial ischemia or infarction 8 cases, anaphylactoid or anaphylaxis 9 cases. The systemic events were 10 cases of drug error, 18 cases of equipment malfunction or failure, 5 cases of anesthesia personnel hazard, 6 cases of unplanned hospital admission and 27 cases of unplanned ICU admission.Conclusion: This was first large anesthesia epidemiological data which can be implied to anesthesia practice in Thailand. The rates of cardiac arrest and death within 24 hours due to allKey words: anesthesia, complication, adverse events. Cardiac arrest, death | en_US |
dc.identifier.callno | WO200 ส275ก [2547] | en_US |
dc.identifier.contactno | 46ค027 | en_US |
dc.subject.keyword | Complication | en_US |
dc.subject.keyword | Adverse Events | en_US |
dc.subject.keyword | Cardiac Arrest | en_US |
dc.subject.keyword | Death | en_US |
dc.subject.keyword | วิสัญญี | en_US |
dc.subject.keyword | ภาวะแทรกซ้อน | en_US |
dc.subject.keyword | เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ | en_US |
dc.subject.keyword | ภาวะหัวใจหยุดเต้น | en_US |
dc.subject.keyword | การตาย | en_US |
.custom.citation | สมรัตน์ จารุลักษณานันท์, Somrat Charulaksananan, ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์ and สุวรรณี สุรเศรณีวงศ์. "การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีในประเทศไทย และการค้นหาปัจจัยเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาแนวทางป้องกันเชิงระบบ." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1798">http://hdl.handle.net/11228/1798</a>. | |
.custom.total_download | 227 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 15 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |