Show simple item record

Effectiveness of Community Health Centers, Phrae Province

dc.contributor.authorกิตตินันท์ อนรรฆมณีth_TH
dc.contributor.authorKittinan Anakamaneeen_US
dc.contributor.authorปรีดา ดีสุวรรณth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:21Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:42:34Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:21Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:42:34Z
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.otherhs0885en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1818en_US
dc.description.abstractกระทรวงสาธารณสุขได้สนับสนุนให้มีการจัดตั้งศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) เพื่อเป็นศูนย์กลางในการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐานในหมู่บ้าน โดยมีเป้าหมายให้จัดตั้งครบทุกหมู่บ้านในปี พ.ศ.2537 การศึกษาครั้งนี้มุ่งที่จะประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานของศสมช.จังหวัดแพร่ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการดําเนินของศสมช. การเก็บข้อมูลทําโดยการสุ่มตัวอย่างหมู่บ้าน จํานวน 96 แห่ง จากหมู่บ้านที่ศสมช. เปิดดําเนินการในปี 2535 - 2538 จํานวน 430 แห่ง ในแต่ละหมู่บ้านที่สุ่มได้จะทําการสัมภาษณ์ใน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้นําชุมชนและอสม. ใช้การสัมภาษณ์กลุ่ม และกลุ่มประชาชน ใช้การสุ่มตัวอย่าง หมู่บ้านละ 3 -5 คน สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล ผลการศึกษาพบว่า มีศสมช. ยังคงเปิดดําเนินการอยู่ร้อยละ 77.1 เปิดทุกวันร้อยละ 32.3 ใช้เป็นที่บริการงานสาธารณสุขมูลฐาน ร้อยละ 56.3 เป็นที่ประชุมอสม. ร้อยละ 42.7 เป็นที่กลั่นกรองเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 41.7 มีหน่วยงานมากกว่า 1 หน่วย สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ร้อยละ 24.1 นําข้อมูลไปใช้วางแผนร้อยละ 8.3 มีชาวบ้านมาขอเอกสารความรู้ทางสาธารณสุข ร้อยละ 50.0 เป็นที่ รวมกองทุนยา ร้อยละ 27.1 บรรลุวัตถุประสงค์โดยรวมตั้งแต่ 4 ข้อขึ้นไป ร้อยละ 41.7 ในส่วนประชาชนนั้น เคยไปรับบริการที่ศสมช. ร้อยละ 63.1 ไปรับบริการมากกว่า 2 เรื่องขึ้นไป ร้อยละ 28.8 มีความพึงพอใจสูง ร้อยละ 64.7 มีการดูแลตนเองเบื้องต้นเมื่อเป็นไข้ ร้อยละ 69.1 ดูแลตนเองเบื้องต้นเมื่อท้องเสีย ร้อยละ 45.3 ปัจจัยที่มีส่วนกําหนดประสิทธิผลของศสมช.มากที่สุดคือกระบวนการในช่วงการก่อตั้งศสมช. ได้แก่ การประชุมชี้แจงชาวบ้านก่อนก่อสร้าง ความสามารถในการระดมทุนก่อสร้าง และการจัดหาสถานที่ตั้งที่เป็นเอกเทศ การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ภาคราชการไม่ควรกําหนดเป้าหมายโครงการครอบคลุม 100 % ของพื้นที่สําหรับงานที่ชุมชนเป็นตัวหลักในการดําเนินงาน และน่าจะมีการทดลองโอน ศสมช. ไปให้อบต. ดูแลในพื้นที่ที่ทุกฝ่ายมีความพร้อมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่en_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectCommunity Health Centers--Phraeen_US
dc.subjectPhraeen_US
dc.subjectศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน--การดำเนินงานen_US
dc.subjectแพร่en_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleประสิทธิผลการดำเนินงานของศูนย์สาธารณสุขชุมชน จังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Community Health Centers, Phrae Provinceen_US
dc.identifier.callnoWA546 ก671ป 2542en_US
dc.identifier.contactno40ค019en_US
.custom.citationกิตตินันท์ อนรรฆมณี, Kittinan Anakamanee and ปรีดา ดีสุวรรณ. "ประสิทธิผลการดำเนินงานของศูนย์สาธารณสุขชุมชน จังหวัดแพร่." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1818">http://hdl.handle.net/11228/1818</a>.
.custom.total_download113
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs0885.pdf
Size: 457.5Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record