dc.contributor.author | บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ | th_TH |
dc.contributor.author | Buppawan Phuaphanprasert | en_US |
dc.contributor.author | กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย | th_TH |
dc.contributor.author | Kitti Sanitwankul | en_US |
dc.contributor.author | Supasit Pannarunothai | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:22:43Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:43:39Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:22:43Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:43:39Z | |
dc.date.issued | 2546 | en_US |
dc.identifier.other | hs1099 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1862 | en_US |
dc.description.abstract | จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อนึ่งการจัดกลุ่มผู้ป่วยทางจิตเวชเพื่อจัดสรรทรัพยากร โดยพิจารณาการวินิจฉัยเป็นหลักที่เหมาะสมกับโรคเฉียบพลัน อาจมีจุดอ่อนเมื่อนำมาใช้กับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เช่น ผู้ป่วยจิตเวช เนื่องจากความแตกต่างระหว่างโรคทางกายและทางจิต กล่าวคือ มีหัตถการน้อยประเภท มีจำนวนวันนอนโรงพยาบาลสูง การวินิจฉัยโรคอาศัยอาการหลายอย่างร่วมกัน การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเครื่องวัดทางจิตเวชใช้ในโรงพยาบาลสวนปรุงที่สะท้อนต้นทุน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนกับค่าใช้จ่าย และการจัดกลุ่มผู้ป่วยจิตเวชแผนกผู้ป่วยในตามการใช้ทรัพยากรของโรงพยาบาลสวนปรุง การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง เก็บข้อมูลผู้ป่วยในโรงพยาบาลสวนปรุง ระหว่างมกราคมถึงพฤศจิกายน พ.ศ. 2545 จำนวนทั้งหมด 3,316 ราย คัดเลือกตัวอย่างมาศึกษาจำนวน 1,207 ราย โดยทุกรายที่นำมาศึกษา มีคะแนนการประเมินทางจิตด้วยแบบประเมินทางจิตเวชทั้ง 4 แบบ ได้แก่ Global Assessment of Functioning Scale (GAF), Clinical Global Impressions (CGI), Brief Psychiatric Rating Scale (BPRS) และแบบประเมินสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชของกรมสุขภาพจิต ณ ช่วงเวลาต่างๆ ระหว่างการเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาล การศึกษาต้นทุนใช้วิธีแก้สมการเส้นตรง ผลการศึกษา ระดับคะแนนเครื่องวัดทั้ง 4 แบบ มีความสัมพันธ์ (correlation) กันอย่างมีนัยสำคัญ และมีสัมพันธ์กับต้นทุนการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยตามกลุ่มการวินิจฉัยโรคที่มีต้นทุนการรักษาเรียงจากมากไปหาน้อย ดังนี้ Schizophrenia, Paranoid and Acute psychotic disorders, Mood disorders, Anxiety disorders, Eating disorders, Obsessive compulsive disorders, Personality disorders, Stress and Adjustment disorders, Mental retardation, Organic disorders, Alcohol Related, Drug related โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อต้นทุนมากที่สุด คือ จำนวนวันนอนโรงพยาบาล รองลงมา คือ การรักษาด้วยไฟฟ้า, กลุ่มการวินิจฉัยโรค อายุ เพศ และระดับความรุ่นแรงจากคะแนนเครื่องวัด ตามลำดับ สรุปได้ว่า ต้นทุนการรักษาพยาบาลมีความแตกต่างกันระหว่างกลุ่มการวินิจฉัยโรค และระดับอาการทางจิตวัดจากเครื่องวัดทางจิตเวช และเครื่องวัดทางจิตที่ใช้ในโรงพยาบาลสวนปรุงทั้ง 4 แบบ พบว่า GAF เป็นเครื่องมือที่มีความเหมาะสมในหลายประการ สำหรับศึกษาถึงต้นทุนหรือการใช้ทรัพยากรการรักษาพยาบาล | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 2896777 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยนเรศวร | en_US |
dc.subject | Health Care Cost | en_US |
dc.subject | Cost and Cost Analysis | en_US |
dc.subject | Health Expenditures | en_US |
dc.subject | Psychiatry | en_US |
dc.subject | Psychiatric Status Rating Scales | en_US |
dc.subject | Mental Health Service | en_US |
dc.subject | Hospitals, Psychiatric | en_US |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล | en_US |
dc.subject | จิตเวชศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ต้นทุนการผลิต | en_US |
dc.subject | ผู้ป่วยจิตเวช | en_US |
dc.subject | การบริการสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) | th_TH |
dc.title | ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง | th_TH |
dc.title.alternative | Cost of psychiatric care by casemix approach, Suan Prugn Psychiatric hospital | en_US |
dc.description.abstractalternative | Currently, psychiatric patients classification for budgeting allocation’s purpose by employing diagnosis might be appropriate for acute disease but not implicitly to psychiatric cases. Psychiatric patients have their own special characteristics as follow: a requirement of joint symptoms’ diagnosis, less doctoral procedures, long average length of stay, various existing mental health assessments but not specifically designed for the purpose of budget allocation. The purposes of this research is to analyze various mental health assessments employed at Suan Prung Psychiartic Hospital and to study the correlation between mental health services cost and mental health assessment point given by hospital staff. The study is considered in the in-patient department by case mix method.Methods The retrospective study collected and collated information from 1,207 out of a total 3,715 cases from patients who came for services in in-patient department, Suan Prung Psychiartic Hospital during March to December 2002. Each selected individual patient for this study had to have 4 kinds of mental health assessments: Global Assessment of functioning Scale (GAF), Clinical Global Impressions (CGI), Brief Psychiatric Rating Scale (BPRS), and Assessment of Functioning form Mental Health Department. Individual’s information shall be periodically collected during each individual’ services stay. This study shall be employed a linear equation by categorizing costs into routine service costs, medical care costs, and individual drug costs. Results Our findings based upon 4 mental health assessments employed at Suan Prung Psychiartic Hospital show: significant correlation among individual assessment; Level of mental severity relate to level of services cost. The study shows that case mix of Schizophrenia, Paranoid and Acute psychotic disorders is the most costly, followed by Mood disorders; Mental retardation; Anxiety disorders, Eating disorders, Obsessive compulsive disorders, Personality disorders, Stress and Adjustment disorders; Alcohol Related; disorders and Drug Related, respectively. The following key factors directly affect mental health service costs in deceleration order: average length of stay, electro convulsive therapy, diagnosis, age, and gender.Conclusions After analyzing mental health assessments, our finding is health services costs are inconsistent between case mix and mental severity. Mental health assessments employed at Suan Prung Psychiartic Hospital that reflects budget allocation is GAF. | en_US |
dc.identifier.callno | WM30 บ639ต 2546 | en_US |
dc.identifier.contactno | 46ค036 | en_US |
dc.subject.keyword | Hospital Cost | en_US |
dc.subject.keyword | Suan Prung Psychiatric Hospital | en_US |
dc.subject.keyword | ต้นทุนโรงพยาบาล | en_US |
dc.subject.keyword | โรงพยาบาลสวนปรุง | en_US |
.custom.citation | บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ, Buppawan Phuaphanprasert, กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล, ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย, Kitti Sanitwankul and Supasit Pannarunothai. "ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1862">http://hdl.handle.net/11228/1862</a>. | |
.custom.total_download | 282 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 9 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |