Show simple item record

[Review of Singaporean Health Care System Reform]

dc.contributor.authorสุพัตรา ศรีวณิชชากรen_US
dc.contributor.authorSupattra Srivanichakornen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:22:46Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:10Z
dc.date.available2008-12-04T05:22:46Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:10Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0673en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1868en_US
dc.description.abstractทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์การพัฒนาระบบสุขภาพในประเทศสิงคโปร์ เริ่มมีการพัฒนาเต็มที่ตั้งแต่สิงคโปร์มีการเลือกตั้งรัฐบาลบริหารของตนเองเมื่อปี ค.ศ.1959 โดยการดำเนินการทางด้านสาธารณสุขเพื่อลดปัญหาโรคระบาด โรคติดเชื้อ เด็กขาดสารอาหาร และการกระจายบริการทางการแพทย์พื้นฐานระดับปฐมภูมิให้ออกไปอยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากขึ้น รัฐบาลสิงคโปร์จึงเริ่มจัดทำแผนสุขภาพแห่งชาติในปี พ.ศ.1983 ด้วยชื่อ Affordable Health Care "สมุดปกขาว" สร้างขึ้นจากฐานการวิเคราะห์สถานการณ์จริงวัฒนธรรมและสังคมในสิงคโปร์ ร่วมกับการศึกษาบทเรียนประเทศต่างๆ แล้วนำเสนอเป็นแนวคิด หลักการใหญ่ๆที่จะมีการปฏิรูป เพื่อทำความเข้าใจกับประชาชน นักการเมือง นักวิชาการ นักธุรกิจ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกระดับพร้อมรับฟังความคิดเห็นจากทุกส่วน และปรับให้เหมาะสมจนเป็นที่ยอมรับของประชาชนส่วนใหญ่จึงได้ประกาศเป็นกฎหมายออกมา มาตรการที่เสนอมีลักษณะที่วางการแก้ปัญหาด้วยมาตรการเป็นชุด และดำเนินตามจังหวะความพร้อมทั้งในส่วนที่เป็นวิธีปฏิรูปการเงินการคลังที่เรียกว่าระบบ Medisave การบริการและการบริหารโรงพยาบาลรัฐแบบใหม่ที่เป็นอิสระ ดำเนินการได้เองอย่างเบ็ดเสร็จ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนรักษาสุขภาพตน เพิ่มระบบประกันสุขภาพตามความสมัครใจเพื่อครอบคลุมปัญหาสุขภาพที่ต้องมีค่าใช้จ่ายสูง ระบบเงินออมรับภาระที่เรียกว่า Medishield และมีกองทุน Medifund ในปี ค.ศ.1990 การพัฒนากำลังคนด้านการแพทย์ร่วมกับการส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพดี ผลการปฏิรูประบบสุขภาพพบว่า ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพอยู่ในภาระรับผิดชอบของประชาชน ภาคเอกชนมากขึ้นประมาณ 3 ใน 4 รัฐรับภาระอุดหนุนน้อยลง แต่มูลค่ารวมของค่าใช้จ่ายสุขภาพยังเพิ่มสูงขึ้น แต่อัตราเพิ่มชะลอตัว มีเงินสะสมอยู่ในบัญชีออม Medisave ทั้งหมดคิดเป็นมูลค่าประมาณ 3 เท่า ของค่าใช้จ่ายสุขภาพทั้งหมดของประเทศต่อปี ส่วนข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าถึงบริการของประชากรแต่ละกลุ่ม ผู้ทบทวนไม่สามารถหาข้อมูลได้ ส่วนด้านการปฏิรูปโรงพยาบาลรัฐนั้น ประชาชนมีทางเลือกการใช้บริการที่มีความหลากหลายและราคาต่างกันได้มากขึ้น ค่าใช้จ่ายและสัดส่วนบุคลากรเพื่อการจัดการและธุรการค่อนข้างต่ำ การบริการรวดเร็วขึ้น ไม่มีรายการที่ผู้ป่วยต้องรอรับบริการรักษาเป็นเวลานานๆ ส่วนสภาวะสุขภาพของประชาชนก็พบว่า ประชาชนมีอายุยืนยาวมากขึ้น อัตราตายลดลง พฤติกรรมสูบบุหรี่ลดลง ส่วนคุณภาพชีวิตอื่นๆไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent2506733 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Care Reform -- Singaporeen_US
dc.subjectHealth Systems Reform -- Singaporeen_US
dc.subjectสิงคโปรen_US
dc.titleทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์en_US
dc.title.alternative[Review of Singaporean Health Care System Reform]en_US
dc.identifier.callnoWA540.JS6 ส831ท 2543en_US
dc.subject.keywordระบบสาธารณสุขen_US
dc.subject.keywordการปฏิรูประบบสุขภาพen_US
.custom.citationสุพัตรา ศรีวณิชชากร and Supattra Srivanichakorn. "ทบทวนการปฏิรูประบบสาธารณสุขในประเทศสิงคโปร์." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1868">http://hdl.handle.net/11228/1868</a>.
.custom.total_download372
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year40
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs0673.PDF
Size: 2.496Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record